นายวรรธนะชัย โพธิ์ศรี
นายวรรธนะชัย โพธิ์ศรี
นายกเทศมนตรีตำบลซำสูง
แบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก (EIT)


ข้อมูลทั่วไป
บุคลากร
ข้อมูลหน่วยงาน
จำนวนผู้เข้าชมเว็บไซต์
online ขณะนี้
4   คน
สถิติวันนี้
370   คน
สถิติทั้งหมด
118881   คน
เริ่มนับ 15 มกราคม 2557
ข้อมูลเตรียมความพร้อมเข้าสู่ระบบแท่ง 

  หลักเกณฑ์เงื่อนไขและวิธีการกำหนดเงินประโยชน์ตอบแทนอื่นเป็นการกรณีพิเศษ ประจำปี ๒๕๕๘ สรุปได้ดังนี้

                        -เทศบาลต้องมีวงเงินคงเหลือตามมาตรา ๓๕ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ.๒๕๔๒ ไม่สูงกว่าร้อยละ ๔๐ ของงบประมาณรายจ่ายประจำปี ๒๕๕๘

                        -เทศบาลต้องมีผลคะแนนการประเมินมาตรฐานการปฏิบัติราชการ (Core Team) ในปี ๒๕๕๗ ทุกด้านๆละไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๖๐

                        -ในเทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี ๒๕๕๘ ต้องมีรายจ่ายเพื่อการพัฒนา(ค่าครุภัณฑ์ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง) ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๑๐

                        -เทศบาลจะต้องจัดทำงบแสดงฐานะการเงิน และปิดบัญชีรับ-จ่ายให้เสร็จเรียบร้อยก่อน จึงจะเบิกจ่ายเงินโบนัสได้และทำเป็นฎีการายจ่ายรอจ่ายได้ตามหนังสือสั่งการของกระทรวงมหาดไทย

                        -ผู้มีสิทธิได้รับเงินโบนัสประจำปีจะต้องได้รับเงินเดือนจากงบบุคลากร ต้องมีเวลาปฏิบัติราชการที่เทศบาลไม่น้อยกว่า ๘ เดือน และต้องได้รับการประเมินทั้งปี ๒ ครั้ง โดยได้รับการเลื่อนขั้นเงินเดือนไม่ต่ำกว่า ๑ ขั้น กรณีพนักงานจ้างต้องมีผลประเมินการปฏิบัติงานทั้งปีในระดับดีขึ้นไป

                        -ให้เทศบาลยื่นเสนอขอรับการประเมินภายในเดือนกันยายนของทุกปีโดยมีระยะเวลา ๑๒ เดือนเริ่มตั้งแต่ ๑ ตุลาคมของปีที่ประเมิน

                        -ให้เทศบาลเสนอโครงการ/กิจกรรมที่สอดคล้องกับนโยบายหรือยุทธศาสตร์จังหวัด จำนวน ๑ โครงการ และโครงการ/กิจกรรมที่มีความดีเด่นหรือมีความสำคัญ จำนวน ๑ โครงการ โดยเสนอไปพร้อมกับการเสนอขอรับการประเมิน

                        -คณะกรรมการพนักงานเทศบาล (ก.ท.จ.) จะต้องแต่งตั้งคณะอนุกรรมการออกประเมินเมื่อครบกำหนดระยะเวลาที่ขอรับการประเมิน

                        -ให้เทศบาลจ้างสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษา (ตามที่ ก.ท.จ.กำหนด) เพื่อสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการจากเทศบาล

                        -เทศบาลที่จะได้รับเงินประโยชน์ตอบแทนอื่นเป็นกรณีพิเศษ(โบนัส)จะต้องมีคุณสมบัติครบถ้วนและมีผลการประเมินตั้งแต่ ๗๕ คะแนนขึ้นไป

                        -การจ่ายเงินประโยชน์ตอบแทนอื่นเป็นกรณีพิเศษจะต้องทำในรูปคณะกรรมการที่ประกอบด้วย นายกเทศมนตรีเป็นประธาน ปลัดเทศบาลและหัวหน้าส่วนราชการเป็นกรรมการ และจ่ายตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่กำหนดโดยให้นำฐานอัตราเงินเดือน ณ วันที่ ๓๐ กันยายน ของปีงบประมาณที่ขอประเมินมาเป็นฐานคำนวณในการจ่ายเงิน

                        การบริหารผลการปฏิบัติราชการ สรุปสาระสำคัญ ตามลำดับขั้นตอน ดังนี้

                        -ขั้นตอนที่ ๑ วางแผน  เป็นการสร้างข้อตกลงกำหนดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายร่วมกันระหว่างผู้บังคับบัญชากับผู้ใต้บังคับบัญชาระดับปฏิบัติ ภายใต้กรอบทิศทางและเป้าหมายของหน่วยงาน

                        -ขั้นตอนที่ ๒ ติดตาม การติดตามและสอนงานจะนำไปสู่วัฒนธรรมการปฏิบัติราชการเพื่อแก้ปัญหาในการทำงาน เป็นองค์กรที่มุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ของงานเป็นหลัก

                        -ขั้นตอนที่ ๓  พัฒนา จะทำให้ผู้ปฏิบัติราชการทราบถึงความเชื่อมโยงของงานที่ตนกระทำกับผลสำเร็จของหน่วยงานได้อย่างชัดเจนยิ่งขึ้น

                        -ขั้นตอนที่ ๔ ประเมิน เพื่อลดการใช้ดุลยพินิจของผู้บังคับบัญชาต้องทำแบบที่เป็นแบบวิทยาศาสตร์ตรวจสอบได้ โดยการกำหนดตัวชี้วัดร่วมกันก่อนประเมินและจะต้องประเมินด้วยว่าเป็นไปตามตัวชี้วัดที่กำหนด หรือไม่เพื่อให้เกิดการยอมรับและเป็นธรรมกับผู้ถูกประเมินและผู้ประเมิน อาจจะให้ประเมินตนเองและประเมินกันเอง(๓๖๐องศา)ด้วย

-ขั้นตอนที่ ๕ ให้รางวัล เป็นการเสริมสร้างขวัญกำลังใจให้กับผู้ปฏิบัติตามผลแห่งการกระทำสามารถ

ทำได้หลายรูปแบบ เช่น เลื่อนขั้นเงินเดือน เลื่อนระดับตำแหน่งให้สูงขึ้น ประกาศยกย่อง ให้เกียรติบัตร ให้เงินรางวัลประจำปี (โบนัส) เป็นต้น

                   หลักเกณฑ์การให้พนักงานส่วนท้องถิ่น ลูกจ้างและพนักงานจ้างของ อปท. ได้รับเงินเพิ่มการครองชีพชั่วคราว สรุปสาระสำคัญได้ดังนี้

                        ๑.ให้พนักงานเทศบาล ลูกจ้างประจำ และพนักงานจ้างตามภารกิจที่มีวุฒิการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรี ตามคุณสมบัติเฉพาะตำแหน่งที่ได้รับเงินเดือนหรือค่าตอบแทนไม่ถึงเดือนละ ๑๓,๒๘๕ บาท ให้ได้รับเงินเพิ่มการครองชีพชั่วคราวเดือนละ ๒,๐๐๐ บาท แต่เมื่อรวมกับเงินเดือนหรือค่าตอบแทนแล้วจะต้องไม่เกิน ๑๓,๒๘๕ บาท

                        ๒.กรณีพนักงานเทศบาล ลูกจ้างประจำหรือพนักงานจ้างตามภารกิจได้รับเงินเดือนหรือค่าตอบแทนรวมกับเงินเพิ่มการครองชีพชั่วคราวแล้วไม่ถึงเดือนละ ๑๐,๐๐๐ บาท ให้ได้รับเงินเพิ่มการครองชีพชั่วคราวเพิ่มขึ้นอีกจนถึงเดือนละ ๑๐,๐๐๐ บาท

                        ๓.พนักงานจ้างทั่วไปที่กำหนดให้ใช้วุฒิการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรีและมีค่าตอบแทนไม่ถึงเดือนละ ๑๐,๐๐๐ บาท ให้ได้รับเงินเพิ่มการครองชีพชั่วคราวเพิ่มขึ้นจากค่าตอบแทนอีกจนถึงเดือนละ ๑๐,๐๐๐ บาท

                        ๔.การเบิกจ่ายเงินเพิ่มการครองชีพชั่วคราวให้อนุโลมใช้ตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการเบิกจ่ายเงินเพิ่มการครองชีพชั่วคราวของข้าราชการและลูกจ้างประจำของส่วนราชการ โดยมีผลตั้งแต่ วันที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๕๗ เป็นต้นมา

                        การเตรียมความพร้อมทำบัญชีอัตราเงินเดือน (บัญชี ๔) ตามมติคณะรัฐมนตรี สรุปสาระสำคัญๆ ดังนี้ เป็นการปรับปรุงอัตราเงินเดือนสำหรับคุณวุฒิและเงินเพิ่มตามคุณวุฒิสำหรับข้าราชการส่วนท้องถิ่นที่จะได้รับ จำแนกตามช่วงขั้นเงินเดือนและคุณวุฒิการศึกษาที่เป็นคุณสมบัติสำหรับตำแหน่งให้สอดคล้องกับการปรับอัตราเงินเดือนแรกบรรจุของข้าราชการพลเรือน ตามมติ ค.ร.ม.ซึ่งถ้าหากปรับอัตราเงินเดือนแล้วน่าจะส่งผลกระทบต่อการบริหารงานบุคคลของเทศบาลตำบลซำสูงมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งภาระค่าใช้จ่ายด้านการบริหารงานบุคคลของเทศบาลอาจจะใกล้เคียงหรือเกินร้อยละ ๔๐ ได้

                        การประเมินพนักงานจ้าง พนักงานเทศบาล การเลื่อนขั้นเงินเดือน การกำหนดตัวชี้วัดแต่ละตำแหน่ง สรุปสาระสำคัญ ดังนี้

                        ๑.เทศบาลต้องกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลการปฏิบัติบนพื้นฐานของผลสำเร็จและผลสัมฤทธิ์ของงาน โดยการกำหนดตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงานให้ชัดเจน ซึ่งอาจดำเนินการร่วมกันระหว่างผู้บังคับบัญชา หรือผู้ประเมินกับผู้ใต้บังคับบัญชาหรือผู้ถูกประเมินในรูปแบบข้อตกลงการปฏิบัติราชการได้

                        ๒.การประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานอาจประเมินจากปริมาณผลงานคุณภาพผลงาน ความรวดเร็วหรือตรงต่อเวลา และการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า

                        ๓.การประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติงานควรกำหนดสมรรถนะ(พฤติกรรมการทำงาน)ที่เกี่ยวข้องและส่งผลต่อความสำเร็จของงาน ระบุพฤติกรรมบ่งชี้ที่พึงประสงค์ของแต่ละสมรรถนะแล้วให้ประเมินพฤติกรรมที่แสดงออกในการปฏิบัติงานจริงของผู้ถูกประเมินเปรียบเทียบกับพฤติกรรมการทำงานและพฤติกรรมการบ่งชี้ที่กำหนด

                        ๔.การกำหนดตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงานร่วมกันระหว่างผู้บังคับบัญชาหรือผู้ประเมินกับผู้ถูกประเมินจะทำให้เกิดการยอมรับในผลประเมินได้และลดการใช้ดุลยพินิจของผู้ประเมินได้

                        ๓.)วันที่ ๒๓ พฤษภาคม ๒๕๕๘ วิทยากรบรรยายโดย พ.จ.อ.ชนินทร์ ราชมณี ผู้อำนวยการส่วนประสานการถ่ายโอนบุคลากรและมาตรฐานตำแหน่ง บรรยายเรื่อง การจัดทำมาตรฐานกำหนดตำแหน่งข้าราชการส่วนท้องถิ่นในระบบแท่ง แนวทางการเปลี่ยนผ่านเข้าสู่ระบบจำแนกตำแหน่ง(ระบบแท่ง) สรุปได้ดังนี้

                        ๑.ตำแหน่งพนักงานส่วนท้องถิ่นมี ๔ ประเภท ประกอบด้วย

                        - ประเภทบริหารท้องถิ่น ได้แก่ ปลัดและรองปลัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

                        - ประเภทอำนวยการท้องถิ่น ได้แก่ หัวหน้าหน่วยงานระดับฝ่าย ระดับส่วน ระดับกอง และระดับสำนักขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

                        - ประเภทวิชาการ ได้แก่ ตำแหน่งที่ใช้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา ตามมาตรฐานทั่วไปที่คณะกรรมการกลางพนักงานส่วนท้องถิ่นกำหนด

                        - ประเภททั่วไป ได้แก่ ตำแหน่งที่ไม่ใช่ตำแหน่งบริหารท้องถิ่น อำนวยการท้องถิ่นและวิชาการ

                        ๒.ระดับของพนักงานส่วนท้องถิ่น มีดังนี้

                        - บริการท้องถิ่น มี ๓ ระดับ ได้แก่ ระดับต้น ระดับกลาง และระดับสูง

                        - อำนวยการท้องถิ่น มี ๓ ระดับ ได้แก่ ระดับต้น ระดับกลาง และระดับสูง

                        - วิชาการ มี ๔ ระดับ ได้แก่ ระดับปฏิบัติการ ระดับชำนาญการ ระดับชำนาญการพิเศษ และระดับเชี่ยวชาญ

                        - ทั่วไป มี ๓ ระดับ ได้แก่ ปฏิบัติงาน ชำนาญงาน และอาวุโส

                        ๓.การเข้าสู่ระบบจำแนกตำแหน่ง (ระบบแท่ง)

                        - ผู้ดำรงตำแหน่ง ระดับ ๑-๔ ของสายงานเริ่มต้นระดับ ๑ หรือ ระดับ ๒ ให้ไปดำรงตำแหน่ง ประเภททั่วไป ระดับปฏิบัติการ

                        - ผู้ดำรงตำแหน่ง ระดับ ๕-๖ ของสายงานเริ่มต้นจากระดับ ๑ หรือ ระดับ ๒ ให้ไปดำรงตำแหน่งประเภททั่วไป ระดับชำนาญงาน

                        - ผู้ที่ดำรงตำแหน่งระดับ ๗-๘ ของสายงานเริ่มต้นจากระดับ ๑ หรือระดับ ๒ ให้ไปดำรงตำแหน่งประเภททั่วไป ระดับอาวุโส

                        - ผู้ดำรงตำแหน่ง ระดับ ๓-๕ ของสายงานเริ่มต้นจากระดับ ๓ หรือระดับ ๔ ให้ไปดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ

                        - ผู้ดำรงตำแหน่ง ระดับ ๖-๗ ของสายงานเริ่มต้นจากระดับ ๓ หรือระดับ ๔ ให้ไปดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการ

                        - ผู้ดำรงตำแหน่งระดับ ๘ ของสายงานเริ่มต้นจากระดับ ๓ หรือระดับ ๔ ให้ไปดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการพิเศษ

                        - ผู้ดำรงตำแหน่งระดับ ๙ ของสายงานเริ่มต้นจากระดับ ๓ หรือระดับ ๔ ให้ไปดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการระดับเชี่ยวชาญ

                        - ผู้ดำรงตำแหน่ง ระดับ ๖-๗ ของสายงานเริ่มต้นจากระดับ ๖ (นักบริหารงานประเภทต่างๆ ยกเว้นนักบริหารงานท้องถิ่น) ให้ไปดำรงตำแหน่งอำนวยการท้องถิ่น ระดับต้น

                        - ผู้ดำรงตำแหน่ง ระดับ ๘ ของสายงานเริ่มต้น ระดับ ๖ (นักบริหารงานต่างๆ ยกเว้นนักบริหารงานท้องถิ่น)ให้ไปดำรงตำแหน่งอำนวยการท้องถิ่น ระดับกลาง

                        - ผู้ดำรงตำแหน่ง ระดับ ๙ (นักบริหารงานต่างๆ ยกเว้นนักบริหารงานท้องถิ่น)ให้ไปดำรงตำแหน่งอำนวยการท้องถิ่นระดับสูง

                        - ผู้ดำรงตำแหน่งระดับ ๓-๗ ของสายงานนักบริหารท้องถิ่น(ปลัด/รองปลัด)ให้ไปดำรงตำแหน่งประเภท บริหารท้องถิ่น ระดับต้น

                        - ผู้ดำรงตำแหน่ง ระดับ ๘ ของสายงานนักบริหารท้องถิ่น(ปลัด/รองปลัด) ให้ไปดำรงตำแหน่งประเภทบริหารท้องถิ่น ระดับกลาง

                        - ผู้ดำรงตำแหน่ง ระดับ ๙ ของสายงานนักบริหารท้องถิ่น(ปลัด/รองปลัด) ให้ไปดำรงตำแหน่งประเภทบริหารท้องถิ่น ระดับสูง

                        - ดำรงตำแหน่ง ระดับ ๑๐ ของสายงานนักบริหารงานท้องถิ่น (ปลัด) ให้ไปดำรงตำแหน่งประเภทบริหารท้องถิ่นระดับสูง

                        ๔  ความรู้ที่จำเป็น ทักษะที่จำเป็นและสมรรถนะที่จำเป็นในงานของพนักงานส่วนท้องถิ่น

                        (๑)   ความรู้ที่จำเป็นในงานของข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่น มีจำนวน ๒๑ ด้าน ดังนี้

                        ๑.๑  ความรู้ที่จำเป็นในงาน (ความรู้เฉพาะทางในงานที่รับผิดชอบ)

                        ๑.๒  ความรู้เรื่องกฎหมาย  (ความรู้เฉพาะทางในงานที่รับผิดชอบ)

                        ๑.๓  ความรู้เรื่องหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                        ๑.๔  ความรู้ทั่วไปเรื่องชุมชน

                        ๑.๕  ความรู้เรื่องการจัดการความรู้

                        ๑.๖  ความรู้เรื่องการจัดทำแผนปฏิบัติการและแผนยุทธศาสตร์

                        ๑.๗  ความรู้เรื่องการติดตามและประเมินผล

                        ๑.๘  ความรู้เรื่องระบบการจัดการองค์กร

                        ๑.๙  ความรู้เรื่องการวิเคราะห์ผลกระทบต่าง ๆ เช่น การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA)  การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ (HIA) ฯลฯ

                        ๑.๑๐  ความรู้เรื่องการทำงบการเงินและงบประมาณ

                        ๑.๑๑  ความรู้เรื่องระบบการบริหารงานการคลังภาครัฐด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์  (GFMIS)

                        ๑.๑๒  ความรู้เรื่องการบริหารความเสี่ยง

                        ๑.๑๓  ความรู้เรื่องบัญชีและระบบบัญชี

                        ๑.๑๔  ความรู้เรื่องจัดซื้อจัดจ้างและกฎระเบียบพัสดุ

                        ๑.๑๕  ความรู้เรื่องการบริหารทรัพยากรบุคคล

                        ๑.๑๖  ความรู้เรื่องการพัฒนาบุคลากร

                        ๑.๑๗  ความรู้เรื่องงานธุรการและงานสารบรรณ

                        ๑.๑๘  ความรู้เรื่องสถานการณ์ภายนอกและผลกระทบต่อเศรษฐกิจและสังคมพื้นที่

                        ๑.๑๙  ความรู้เรื่องสื่อสาธารณะ

                        ๑.๒๐  ความรู้เรื่องการบริหารจัดการฮาร์ดแวร์  (Hardware)  ซอฟต์แวร์  (Software)  และเน็ตเวิร์ก  (Network)

                        ๑.๒๑  ความรู้เรื่องบรรณารักษ์

                        (๒)  ทักษะที่จำเป็นในงานของข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่น  มีจำนวน  ๙  ด้าน  ดังนี้

                        ๒.๑  ทักษะการบริหารข้อมูล

                        ๒.๒  ทักษะการใช้คอมพิวเตอร์ 

                        ๒.๓  ทักษะการประสานงาน 

                        ๒.๔  ทักษะในการสืบสวน

                        ๒.๕  ทักษะการบริหารโครงการ

                        ๒.๖  ทักษะในการสื่อสาร  การนำเสนอ  และถ่ายทอดความรู้

                        ๒.๗  ทักษะการเขียนรายงานและสรุปผลรายงาน

                        ๒.๘  ทักษะการเขียนหนังสือราชการ

                        ๒.๙  ทักษะการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ทางวิทยาศาสตร์

                        (๓)  สมรรถนะที่จำเป็นในงานของข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่น  จำแนกเป็น  ๓  ประเภท  ดังนี้

                        ๓.๑)  สมรรถนะหลัก  หมายถึง  สมรรถนะที่ข้าราชการทุกประเภทและระดับตำแหน่งจำเป็นต้องมี  เพื่อเป็นการหล่อหลอมให้เกิดพฤติกรรมและค่านิยมที่พึ่งประสงค์ร่วมกัน  ซึ่งจะก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  ประชาชน  สังคม  และประเทศชาติ  ประกอบด้วย  ๕  สมรรถนะ ดังนี้

                                    ๑.  การมุ่งผลสัมฤทธิ์

                                    ๒.  การยึดมั่นในความถูกต้องและจริยธรรม

                                    ๓.  ความเข้าใจในองค์กรและระบบงาน

                                    ๔.  การบริการเป็นเลิศ

                                    ๕.  การทำงานเป็นทีม

                        ๓.๒)  สมรรถนะประจำผู้บริหาร  หมายถึง  สมรรถนะที่ข้าราชการในตำแหน่งประเภทบริหารและอำนวยการ  ซึ่งต้องกำกับดูแลทีมงานหรือผู้ใต้บังคับบัญชาจำเป็นต้องมีในฐานะผู้นำที่มีประสิทธิภาพ  เพื่อนำทีมงานหรือผู้ใต้บังคับบัญชาให้สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพและสอดคล้องตามวัตถุประสงค์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  ประกอบด้วย  ๔  สมรรถนะ  ดังนี้

                                    ๑.  การเป็นผู้นำในการเปลี่ยนแปลง

                                    ๒.  ความสามารถในการเป็นผู้นำ

                                    ๓.  ความสามารถในการพัฒนาคน

                                    ๔.  การคิดเชิงกลยุทธ์

                        ๓.๓)  สมรรถนะประจำสายงาน  หมายถึง  สมรรถนะที่กำหนดเฉพาะสำหรับประเภทและระดับตำแหน่งในสายงานต่าง ๆ เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมให้ข้าราชการที่ดำรงตำแหน่งในสายงานนั้น  สามารถปฏิบัติภารกิจในหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพและบรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  ประกอบด้วย  ๒๒  สมรรถนะ  ดังนี้

                                    ๑.  การกำกับติดตามอย่างสม่ำเสมอ

                                    ๒.  การแก้ไขปัญหาอย่างมืออาชีพ

                                    ๓.  การแก้ปัญหาและดำเนินการเชิงรุก

                                    ๔.  การค้นหาและการบริหารจัดการข้อมูล

                                    ๕.  การควบคุมและจัดการสถานการณ์อย่างสร้างสรรค์

                                    ๖.  การคิดวิเคราะห์

                                    ๗.  การบริหารความเสี่ยง

                                    ๘.  การบริหารทรัพยากร

                                    ๙.  การมุ่งความปลอดภัยและการระวังภัย

                                    ๑๐.  การยึดมั่นในหลักเกณฑ์

                                    ๑๑.  การวางแผนและการจัดการ

                                    ๑๒.  การวิเคราะห์และการบูรณาการ

                                    ๑๓.  การสร้างให้เกิดการมีส่วนร่วมทุกภาคส่วน

                                    ๑๔.  การสั่งสมความรู้และความเชี่ยวชาญในสายอาชีพ

                                    ๑๕.  การให้ความรู้และการสร้างสายสัมพันธ์

                                    ๑๖.  ความเข้าใจผู้อื่นและตอบสนองอย่างสร้างสรรค์

                                    ๑๗.  ความเข้าใจพื้นที่และความถูกต้องของงาน

                                    ๑๘.  ความคิดสร้างสรรค์

                                    ๑๙.  ความละเอียดรอบคอบและความถูกต้องของงาน

                                    ๒๐.  จิตสำนักและรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม

                                    ๒๑.  ศิลปะการโน้มน้าวจูงใจ

                                    ๒๒.  สร้างสรรค์เพื่อประโยชน์ของท้องถิ่น

                        (๔)  สรุปจำนวนสมรรถนะ  ความรู้  ทักษะที่ต้องกำหนดในแต่ละประเภทตำแหน่งต่าง ๆ  ดังนี้

                        ๑)  ประเภทบริหารงานท้องถิ่น  ประกอบด้วย

                                    -  สมรรถนะหลัก  ๕  สมรรถนะ

                                    -  สมรรถนะประจำผู้บริหาร  ๔  สมรรถนะ

                                    -  สมรรถนะประจำสายงาน  ๓  สมรรถนะ

                                    -  ความรู้ที่จำเป็นอย่างน้อย  ๔  ด้าน

                                    -  ทักษะที่จำเป็นอย่างน้อย  ๔  ด้าน

๒)  ประเภทอำนวยการท้องถิ่น  ประกอบด้วย

                                    -  สมรรถนะหลัก  ๕  สมรรถนะ

                                    -  สมรรถนะประจำผู้บริหาร  ๔  สมรรถนะ

                                    -  สมรรถนะประจำสายงาน  ๓  สมรรถนะ

                                    -  ความรู้ที่จำเป็นอย่างน้อย  ๗  ด้าน

                                    -  ทักษะที่จำเป็นอย่างน้อย  ๔  ด้าน

                        ๓)  ประเภทวิชาการ  ประกอบด้วย

                                    -  สมรรถนะหลัก  ๕  สมรรถนะ

                                    -  สมรรถนะประจำสายงาน  ๓  สมรรถนะ

                                    -  ความรู้ที่จำเป็นอย่างน้อย  ๕  ด้าน

                                    -  ทักษะที่จำเป็นอย่างน้อย  ๓  ด้าน

                        ๔)  ประเภททั่วไป  ประกอบด้วย

                                    -  สมรรถนะหลัก  ๕  สมรรถนะ

                                    -  สมรรถนะประจำสายงาน  ๓  สมรรถนะ

                                    -  ความรู้ที่จำเป็นอย่างน้อย  ๓  ด้าน

                                    -  ทักษะที่จำเป็นอย่างน้อย  ๓  ด้าน หลักเกณฑ์เงื่อนไขและวิธีการกำหนดเงินประโยชน์ตอบแทนอื่นเป็นการกรณีพิเศษ ประจำปี ๒๕๕๘ สรุปได้ดังนี้

                        -เทศบาลต้องมีวงเงินคงเหลือตามมาตรา ๓๕ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ.๒๕๔๒ ไม่สูงกว่าร้อยละ ๔๐ ของงบประมาณรายจ่ายประจำปี ๒๕๕๘

                        -เทศบาลต้องมีผลคะแนนการประเมินมาตรฐานการปฏิบัติราชการ (Core Team) ในปี ๒๕๕๗ ทุกด้านๆละไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๖๐

                        -ในเทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี ๒๕๕๘ ต้องมีรายจ่ายเพื่อการพัฒนา(ค่าครุภัณฑ์ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง) ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๑๐

                        -เทศบาลจะต้องจัดทำงบแสดงฐานะการเงิน และปิดบัญชีรับ-จ่ายให้เสร็จเรียบร้อยก่อน จึงจะเบิกจ่ายเงินโบนัสได้และทำเป็นฎีการายจ่ายรอจ่ายได้ตามหนังสือสั่งการของกระทรวงมหาดไทย

                        -ผู้มีสิทธิได้รับเงินโบนัสประจำปีจะต้องได้รับเงินเดือนจากงบบุคลากร ต้องมีเวลาปฏิบัติราชการที่เทศบาลไม่น้อยกว่า ๘ เดือน และต้องได้รับการประเมินทั้งปี ๒ ครั้ง โดยได้รับการเลื่อนขั้นเงินเดือนไม่ต่ำกว่า ๑ ขั้น กรณีพนักงานจ้างต้องมีผลประเมินการปฏิบัติงานทั้งปีในระดับดีขึ้นไป

                        -ให้เทศบาลยื่นเสนอขอรับการประเมินภายในเดือนกันยายนของทุกปีโดยมีระยะเวลา ๑๒ เดือนเริ่มตั้งแต่ ๑ ตุลาคมของปีที่ประเมิน

                        -ให้เทศบาลเสนอโครงการ/กิจกรรมที่สอดคล้องกับนโยบายหรือยุทธศาสตร์จังหวัด จำนวน ๑ โครงการ และโครงการ/กิจกรรมที่มีความดีเด่นหรือมีความสำคัญ จำนวน ๑ โครงการ โดยเสนอไปพร้อมกับการเสนอขอรับการประเมิน

                        -คณะกรรมการพนักงานเทศบาล (ก.ท.จ.) จะต้องแต่งตั้งคณะอนุกรรมการออกประเมินเมื่อครบกำหนดระยะเวลาที่ขอรับการประเมิน

                        -ให้เทศบาลจ้างสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษา (ตามที่ ก.ท.จ.กำหนด) เพื่อสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการจากเทศบาล

                        -เทศบาลที่จะได้รับเงินประโยชน์ตอบแทนอื่นเป็นกรณีพิเศษ(โบนัส)จะต้องมีคุณสมบัติครบถ้วนและมีผลการประเมินตั้งแต่ ๗๕ คะแนนขึ้นไป

                        -การจ่ายเงินประโยชน์ตอบแทนอื่นเป็นกรณีพิเศษจะต้องทำในรูปคณะกรรมการที่ประกอบด้วย นายกเทศมนตรีเป็นประธาน ปลัดเทศบาลและหัวหน้าส่วนราชการเป็นกรรมการ และจ่ายตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่กำหนดโดยให้นำฐานอัตราเงินเดือน ณ วันที่ ๓๐ กันยายน ของปีงบประมาณที่ขอประเมินมาเป็นฐานคำนวณในการจ่ายเงิน

                        การบริหารผลการปฏิบัติราชการ สรุปสาระสำคัญ ตามลำดับขั้นตอน ดังนี้

                        -ขั้นตอนที่ ๑ วางแผน  เป็นการสร้างข้อตกลงกำหนดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายร่วมกันระหว่างผู้บังคับบัญชากับผู้ใต้บังคับบัญชาระดับปฏิบัติ ภายใต้กรอบทิศทางและเป้าหมายของหน่วยงาน

                        -ขั้นตอนที่ ๒ ติดตาม การติดตามและสอนงานจะนำไปสู่วัฒนธรรมการปฏิบัติราชการเพื่อแก้ปัญหาในการทำงาน เป็นองค์กรที่มุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ของงานเป็นหลัก

                        -ขั้นตอนที่ ๓  พัฒนา จะทำให้ผู้ปฏิบัติราชการทราบถึงความเชื่อมโยงของงานที่ตนกระทำกับผลสำเร็จของหน่วยงานได้อย่างชัดเจนยิ่งขึ้น

                        -ขั้นตอนที่ ๔ ประเมิน เพื่อลดการใช้ดุลยพินิจของผู้บังคับบัญชาต้องทำแบบที่เป็นแบบวิทยาศาสตร์ตรวจสอบได้ โดยการกำหนดตัวชี้วัดร่วมกันก่อนประเมินและจะต้องประเมินด้วยว่าเป็นไปตามตัวชี้วัดที่กำหนด หรือไม่เพื่อให้เกิดการยอมรับและเป็นธรรมกับผู้ถูกประเมินและผู้ประเมิน อาจจะให้ประเมินตนเองและประเมินกันเอง(๓๖๐องศา)ด้วย

-ขั้นตอนที่ ๕ ให้รางวัล เป็นการเสริมสร้างขวัญกำลังใจให้กับผู้ปฏิบัติตามผลแห่งการกระทำสามารถ

ทำได้หลายรูปแบบ เช่น เลื่อนขั้นเงินเดือน เลื่อนระดับตำแหน่งให้สูงขึ้น ประกาศยกย่อง ให้เกียรติบัตร ให้เงินรางวัลประจำปี (โบนัส) เป็นต้น

                   หลักเกณฑ์การให้พนักงานส่วนท้องถิ่น ลูกจ้างและพนักงานจ้างของ อปท. ได้รับเงินเพิ่มการครองชีพชั่วคราว สรุปสาระสำคัญได้ดังนี้

                        ๑.ให้พนักงานเทศบาล ลูกจ้างประจำ และพนักงานจ้างตามภารกิจที่มีวุฒิการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรี ตามคุณสมบัติเฉพาะตำแหน่งที่ได้รับเงินเดือนหรือค่าตอบแทนไม่ถึงเดือนละ ๑๓,๒๘๕ บาท ให้ได้รับเงินเพิ่มการครองชีพชั่วคราวเดือนละ ๒,๐๐๐ บาท แต่เมื่อรวมกับเงินเดือนหรือค่าตอบแทนแล้วจะต้องไม่เกิน ๑๓,๒๘๕ บาท

                        ๒.กรณีพนักงานเทศบาล ลูกจ้างประจำหรือพนักงานจ้างตามภารกิจได้รับเงินเดือนหรือค่าตอบแทนรวมกับเงินเพิ่มการครองชีพชั่วคราวแล้วไม่ถึงเดือนละ ๑๐,๐๐๐ บาท ให้ได้รับเงินเพิ่มการครองชีพชั่วคราวเพิ่มขึ้นอีกจนถึงเดือนละ ๑๐,๐๐๐ บาท

                        ๓.พนักงานจ้างทั่วไปที่กำหนดให้ใช้วุฒิการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรีและมีค่าตอบแทนไม่ถึงเดือนละ ๑๐,๐๐๐ บาท ให้ได้รับเงินเพิ่มการครองชีพชั่วคราวเพิ่มขึ้นจากค่าตอบแทนอีกจนถึงเดือนละ ๑๐,๐๐๐ บาท

                        ๔.การเบิกจ่ายเงินเพิ่มการครองชีพชั่วคราวให้อนุโลมใช้ตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการเบิกจ่ายเงินเพิ่มการครองชีพชั่วคราวของข้าราชการและลูกจ้างประจำของส่วนราชการ โดยมีผลตั้งแต่ วันที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๕๗ เป็นต้นมา

                        การเตรียมความพร้อมทำบัญชีอัตราเงินเดือน (บัญชี ๔) ตามมติคณะรัฐมนตรี สรุปสาระสำคัญๆ ดังนี้ เป็นการปรับปรุงอัตราเงินเดือนสำหรับคุณวุฒิและเงินเพิ่มตามคุณวุฒิสำหรับข้าราชการส่วนท้องถิ่นที่จะได้รับ จำแนกตามช่วงขั้นเงินเดือนและคุณวุฒิการศึกษาที่เป็นคุณสมบัติสำหรับตำแหน่งให้สอดคล้องกับการปรับอัตราเงินเดือนแรกบรรจุของข้าราชการพลเรือน ตามมติ ค.ร.ม.ซึ่งถ้าหากปรับอัตราเงินเดือนแล้วน่าจะส่งผลกระทบต่อการบริหารงานบุคคลของเทศบาลตำบลซำสูงมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งภาระค่าใช้จ่ายด้านการบริหารงานบุคคลของเทศบาลอาจจะใกล้เคียงหรือเกินร้อยละ ๔๐ ได้

                        การประเมินพนักงานจ้าง พนักงานเทศบาล การเลื่อนขั้นเงินเดือน การกำหนดตัวชี้วัดแต่ละตำแหน่ง สรุปสาระสำคัญ ดังนี้

                        ๑.เทศบาลต้องกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลการปฏิบัติบนพื้นฐานของผลสำเร็จและผลสัมฤทธิ์ของงาน โดยการกำหนดตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงานให้ชัดเจน ซึ่งอาจดำเนินการร่วมกันระหว่างผู้บังคับบัญชา หรือผู้ประเมินกับผู้ใต้บังคับบัญชาหรือผู้ถูกประเมินในรูปแบบข้อตกลงการปฏิบัติราชการได้

                        ๒.การประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานอาจประเมินจากปริมาณผลงานคุณภาพผลงาน ความรวดเร็วหรือตรงต่อเวลา และการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า

                        ๓.การประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติงานควรกำหนดสมรรถนะ(พฤติกรรมการทำงาน)ที่เกี่ยวข้องและส่งผลต่อความสำเร็จของงาน ระบุพฤติกรรมบ่งชี้ที่พึงประสงค์ของแต่ละสมรรถนะแล้วให้ประเมินพฤติกรรมที่แสดงออกในการปฏิบัติงานจริงของผู้ถูกประเมินเปรียบเทียบกับพฤติกรรมการทำงานและพฤติกรรมการบ่งชี้ที่กำหนด

                        ๔.การกำหนดตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงานร่วมกันระหว่างผู้บังคับบัญชาหรือผู้ประเมินกับผู้ถูกประเมินจะทำให้เกิดการยอมรับในผลประเมินได้และลดการใช้ดุลยพินิจของผู้ประเมินได้

                        ๓.)วันที่ ๒๓ พฤษภาคม ๒๕๕๘ วิทยากรบรรยายโดย พ.จ.อ.ชนินทร์ ราชมณี ผู้อำนวยการส่วนประสานการถ่ายโอนบุคลากรและมาตรฐานตำแหน่ง บรรยายเรื่อง การจัดทำมาตรฐานกำหนดตำแหน่งข้าราชการส่วนท้องถิ่นในระบบแท่ง แนวทางการเปลี่ยนผ่านเข้าสู่ระบบจำแนกตำแหน่ง(ระบบแท่ง) สรุปได้ดังนี้

                        ๑.ตำแหน่งพนักงานส่วนท้องถิ่นมี ๔ ประเภท ประกอบด้วย

                        - ประเภทบริหารท้องถิ่น ได้แก่ ปลัดและรองปลัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

                        - ประเภทอำนวยการท้องถิ่น ได้แก่ หัวหน้าหน่วยงานระดับฝ่าย ระดับส่วน ระดับกอง และระดับสำนักขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

                        - ประเภทวิชาการ ได้แก่ ตำแหน่งที่ใช้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา ตามมาตรฐานทั่วไปที่คณะกรรมการกลางพนักงานส่วนท้องถิ่นกำหนด

                        - ประเภททั่วไป ได้แก่ ตำแหน่งที่ไม่ใช่ตำแหน่งบริหารท้องถิ่น อำนวยการท้องถิ่นและวิชาการ

                        ๒.ระดับของพนักงานส่วนท้องถิ่น มีดังนี้

                        - บริการท้องถิ่น มี ๓ ระดับ ได้แก่ ระดับต้น ระดับกลาง และระดับสูง

                        - อำนวยการท้องถิ่น มี ๓ ระดับ ได้แก่ ระดับต้น ระดับกลาง และระดับสูง

                        - วิชาการ มี ๔ ระดับ ได้แก่ ระดับปฏิบัติการ ระดับชำนาญการ ระดับชำนาญการพิเศษ และระดับเชี่ยวชาญ

                        - ทั่วไป มี ๓ ระดับ ได้แก่ ปฏิบัติงาน ชำนาญงาน และอาวุโส

                        ๓.การเข้าสู่ระบบจำแนกตำแหน่ง (ระบบแท่ง)

                        - ผู้ดำรงตำแหน่ง ระดับ ๑-๔ ของสายงานเริ่มต้นระดับ ๑ หรือ ระดับ ๒ ให้ไปดำรงตำแหน่ง ประเภททั่วไป ระดับปฏิบัติการ

                        - ผู้ดำรงตำแหน่ง ระดับ ๕-๖ ของสายงานเริ่มต้นจากระดับ ๑ หรือ ระดับ ๒ ให้ไปดำรงตำแหน่งประเภททั่วไป ระดับชำนาญงาน

                        - ผู้ที่ดำรงตำแหน่งระดับ ๗-๘ ของสายงานเริ่มต้นจากระดับ ๑ หรือระดับ ๒ ให้ไปดำรงตำแหน่งประเภททั่วไป ระดับอาวุโส

                        - ผู้ดำรงตำแหน่ง ระดับ ๓-๕ ของสายงานเริ่มต้นจากระดับ ๓ หรือระดับ ๔ ให้ไปดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ

                        - ผู้ดำรงตำแหน่ง ระดับ ๖-๗ ของสายงานเริ่มต้นจากระดับ ๓ หรือระดับ ๔ ให้ไปดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการ

                        - ผู้ดำรงตำแหน่งระดับ ๘ ของสายงานเริ่มต้นจากระดับ ๓ หรือระดับ ๔ ให้ไปดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการพิเศษ

                        - ผู้ดำรงตำแหน่งระดับ ๙ ของสายงานเริ่มต้นจากระดับ ๓ หรือระดับ ๔ ให้ไปดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการระดับเชี่ยวชาญ

                        - ผู้ดำรงตำแหน่ง ระดับ ๖-๗ ของสายงานเริ่มต้นจากระดับ ๖ (นักบริหารงานประเภทต่างๆ ยกเว้นนักบริหารงานท้องถิ่น) ให้ไปดำรงตำแหน่งอำนวยการท้องถิ่น ระดับต้น

                        - ผู้ดำรงตำแหน่ง ระดับ ๘ ของสายงานเริ่มต้น ระดับ ๖ (นักบริหารงานต่างๆ ยกเว้นนักบริหารงานท้องถิ่น)ให้ไปดำรงตำแหน่งอำนวยการท้องถิ่น ระดับกลาง

                        - ผู้ดำรงตำแหน่ง ระดับ ๙ (นักบริหารงานต่างๆ ยกเว้นนักบริหารงานท้องถิ่น)ให้ไปดำรงตำแหน่งอำนวยการท้องถิ่นระดับสูง

                        - ผู้ดำรงตำแหน่งระดับ ๓-๗ ของสายงานนักบริหารท้องถิ่น(ปลัด/รองปลัด)ให้ไปดำรงตำแหน่งประเภท บริหารท้องถิ่น ระดับต้น

                        - ผู้ดำรงตำแหน่ง ระดับ ๘ ของสายงานนักบริหารท้องถิ่น(ปลัด/รองปลัด) ให้ไปดำรงตำแหน่งประเภทบริหารท้องถิ่น ระดับกลาง

                        - ผู้ดำรงตำแหน่ง ระดับ ๙ ของสายงานนักบริหารท้องถิ่น(ปลัด/รองปลัด) ให้ไปดำรงตำแหน่งประเภทบริหารท้องถิ่น ระดับสูง

                        - ดำรงตำแหน่ง ระดับ ๑๐ ของสายงานนักบริหารงานท้องถิ่น (ปลัด) ให้ไปดำรงตำแหน่งประเภทบริหารท้องถิ่นระดับสูง

                        ๔  ความรู้ที่จำเป็น ทักษะที่จำเป็นและสมรรถนะที่จำเป็นในงานของพนักงานส่วนท้องถิ่น

                        (๑)   ความรู้ที่จำเป็นในงานของข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่น มีจำนวน ๒๑ ด้าน ดังนี้

                        ๑.๑  ความรู้ที่จำเป็นในงาน (ความรู้เฉพาะทางในงานที่รับผิดชอบ)

                        ๑.๒  ความรู้เรื่องกฎหมาย  (ความรู้เฉพาะทางในงานที่รับผิดชอบ)

                        ๑.๓  ความรู้เรื่องหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                        ๑.๔  ความรู้ทั่วไปเรื่องชุมชน

                        ๑.๕  ความรู้เรื่องการจัดการความรู้

                        ๑.๖  ความรู้เรื่องการจัดทำแผนปฏิบัติการและแผนยุทธศาสตร์

                        ๑.๗  ความรู้เรื่องการติดตามและประเมินผล

                        ๑.๘  ความรู้เรื่องระบบการจัดการองค์กร

                        ๑.๙  ความรู้เรื่องการวิเคราะห์ผลกระทบต่าง ๆ เช่น การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA)  การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ (HIA) ฯลฯ

                        ๑.๑๐  ความรู้เรื่องการทำงบการเงินและงบประมาณ

                        ๑.๑๑  ความรู้เรื่องระบบการบริหารงานการคลังภาครัฐด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์  (GFMIS)

                        ๑.๑๒  ความรู้เรื่องการบริหารความเสี่ยง

                        ๑.๑๓  ความรู้เรื่องบัญชีและระบบบัญชี

                        ๑.๑๔  ความรู้เรื่องจัดซื้อจัดจ้างและกฎระเบียบพัสดุ

                        ๑.๑๕  ความรู้เรื่องการบริหารทรัพยากรบุคคล

                        ๑.๑๖  ความรู้เรื่องการพัฒนาบุคลากร

                        ๑.๑๗  ความรู้เรื่องงานธุรการและงานสารบรรณ

                        ๑.๑๘  ความรู้เรื่องสถานการณ์ภายนอกและผลกระทบต่อเศรษฐกิจและสังคมพื้นที่

                        ๑.๑๙  ความรู้เรื่องสื่อสาธารณะ

                        ๑.๒๐  ความรู้เรื่องการบริหารจัดการฮาร์ดแวร์  (Hardware)  ซอฟต์แวร์  (Software)  และเน็ตเวิร์ก  (Network)

                        ๑.๒๑  ความรู้เรื่องบรรณารักษ์

                        (๒)  ทักษะที่จำเป็นในงานของข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่น  มีจำนวน  ๙  ด้าน  ดังนี้

                        ๒.๑  ทักษะการบริหารข้อมูล

                        ๒.๒  ทักษะการใช้คอมพิวเตอร์ 

                        ๒.๓  ทักษะการประสานงาน 

                        ๒.๔  ทักษะในการสืบสวน

                        ๒.๕  ทักษะการบริหารโครงการ

                        ๒.๖  ทักษะในการสื่อสาร  การนำเสนอ  และถ่ายทอดความรู้

                        ๒.๗  ทักษะการเขียนรายงานและสรุปผลรายงาน

                        ๒.๘  ทักษะการเขียนหนังสือราชการ

                        ๒.๙  ทักษะการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ทางวิทยาศาสตร์

                        (๓)  สมรรถนะที่จำเป็นในงานของข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่น  จำแนกเป็น  ๓  ประเภท  ดังนี้

                        ๓.๑)  สมรรถนะหลัก  หมายถึง  สมรรถนะที่ข้าราชการทุกประเภทและระดับตำแหน่งจำเป็นต้องมี  เพื่อเป็นการหล่อหลอมให้เกิดพฤติกรรมและค่านิยมที่พึ่งประสงค์ร่วมกัน  ซึ่งจะก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  ประชาชน  สังคม  และประเทศชาติ  ประกอบด้วย  ๕  สมรรถนะ ดังนี้

                                    ๑.  การมุ่งผลสัมฤทธิ์

                                    ๒.  การยึดมั่นในความถูกต้องและจริยธรรม

                                    ๓.  ความเข้าใจในองค์กรและระบบงาน

                                    ๔.  การบริการเป็นเลิศ

                                    ๕.  การทำงานเป็นทีม

                        ๓.๒)  สมรรถนะประจำผู้บริหาร  หมายถึง  สมรรถนะที่ข้าราชการในตำแหน่งประเภทบริหารและอำนวยการ  ซึ่งต้องกำกับดูแลทีมงานหรือผู้ใต้บังคับบัญชาจำเป็นต้องมีในฐานะผู้นำที่มีประสิทธิภาพ  เพื่อนำทีมงานหรือผู้ใต้บังคับบัญชาให้สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพและสอดคล้องตามวัตถุประสงค์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  ประกอบด้วย  ๔  สมรรถนะ  ดังนี้

                                    ๑.  การเป็นผู้นำในการเปลี่ยนแปลง

                                    ๒.  ความสามารถในการเป็นผู้นำ

                                    ๓.  ความสามารถในการพัฒนาคน

                                    ๔.  การคิดเชิงกลยุทธ์

                        ๓.๓)  สมรรถนะประจำสายงาน  หมายถึง  สมรรถนะที่กำหนดเฉพาะสำหรับประเภทและระดับตำแหน่งในสายงานต่าง ๆ เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมให้ข้าราชการที่ดำรงตำแหน่งในสายงานนั้น  สามารถปฏิบัติภารกิจในหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพและบรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  ประกอบด้วย  ๒๒  สมรรถนะ  ดังนี้

                                    ๑.  การกำกับติดตามอย่างสม่ำเสมอ

                                    ๒.  การแก้ไขปัญหาอย่างมืออาชีพ

                                    ๓.  การแก้ปัญหาและดำเนินการเชิงรุก

                                    ๔.  การค้นหาและการบริหารจัดการข้อมูล

                                    ๕.  การควบคุมและจัดการสถานการณ์อย่างสร้างสรรค์

                                    ๖.  การคิดวิเคราะห์

                                    ๗.  การบริหารความเสี่ยง

                                    ๘.  การบริหารทรัพยากร

                                    ๙.  การมุ่งความปลอดภัยและการระวังภัย

                                    ๑๐.  การยึดมั่นในหลักเกณฑ์

                                    ๑๑.  การวางแผนและการจัดการ

                                    ๑๒.  การวิเคราะห์และการบูรณาการ

                                    ๑๓.  การสร้างให้เกิดการมีส่วนร่วมทุกภาคส่วน

                                    ๑๔.  การสั่งสมความรู้และความเชี่ยวชาญในสายอาชีพ

                                    ๑๕.  การให้ความรู้และการสร้างสายสัมพันธ์

                                    ๑๖.  ความเข้าใจผู้อื่นและตอบสนองอย่างสร้างสรรค์

                                    ๑๗.  ความเข้าใจพื้นที่และความถูกต้องของงาน

                                    ๑๘.  ความคิดสร้างสรรค์

                                    ๑๙.  ความละเอียดรอบคอบและความถูกต้องของงาน

                                    ๒๐.  จิตสำนักและรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม

                                    ๒๑.  ศิลปะการโน้มน้าวจูงใจ

                                    ๒๒.  สร้างสรรค์เพื่อประโยชน์ของท้องถิ่น

                        (๔)  สรุปจำนวนสมรรถนะ  ความรู้  ทักษะที่ต้องกำหนดในแต่ละประเภทตำแหน่งต่าง ๆ  ดังนี้

                        ๑)  ประเภทบริหารงานท้องถิ่น  ประกอบด้วย

                                    -  สมรรถนะหลัก  ๕  สมรรถนะ

                                    -  สมรรถนะประจำผู้บริหาร  ๔  สมรรถนะ

                                    -  สมรรถนะประจำสายงาน  ๓  สมรรถนะ

                                    -  ความรู้ที่จำเป็นอย่างน้อย  ๔  ด้าน

                                    -  ทักษะที่จำเป็นอย่างน้อย  ๔  ด้าน

๒)  ประเภทอำนวยการท้องถิ่น  ประกอบด้วย

                                    -  สมรรถนะหลัก  ๕  สมรรถนะ

                                    -  สมรรถนะประจำผู้บริหาร  ๔  สมรรถนะ

                                    -  สมรรถนะประจำสายงาน  ๓  สมรรถนะ

                                    -  ความรู้ที่จำเป็นอย่างน้อย  ๗  ด้าน

                                    -  ทักษะที่จำเป็นอย่างน้อย  ๔  ด้าน

                        ๓)  ประเภทวิชาการ  ประกอบด้วย

                                    -  สมรรถนะหลัก  ๕  สมรรถนะ

                                    -  สมรรถนะประจำสายงาน  ๓  สมรรถนะ

                                    -  ความรู้ที่จำเป็นอย่างน้อย  ๕  ด้าน

                                    -  ทักษะที่จำเป็นอย่างน้อย  ๓  ด้าน

                        ๔)  ประเภททั่วไป  ประกอบด้วย

                                    -  สมรรถนะหลัก  ๕  สมรรถนะ

                                    -  สมรรถนะประจำสายงาน  ๓  สมรรถนะ

                                    -  ความรู้ที่จำเป็นอย่างน้อย  ๓  ด้าน

                                    -  ทักษะที่จำเป็นอย่างน้อย  ๓  ด้าน หลักเกณฑ์เงื่อนไขและวิธีการกำหนดเงินประโยชน์ตอบแทนอื่นเป็นการกรณีพิเศษ ประจำปี ๒๕๕๘ สรุปได้ดังนี้

                        -เทศบาลต้องมีวงเงินคงเหลือตามมาตรา ๓๕ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ.๒๕๔๒ ไม่สูงกว่าร้อยละ ๔๐ ของงบประมาณรายจ่ายประจำปี ๒๕๕๘

                        -เทศบาลต้องมีผลคะแนนการประเมินมาตรฐานการปฏิบัติราชการ (Core Team) ในปี ๒๕๕๗ ทุกด้านๆละไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๖๐

                        -ในเทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี ๒๕๕๘ ต้องมีรายจ่ายเพื่อการพัฒนา(ค่าครุภัณฑ์ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง) ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๑๐

                        -เทศบาลจะต้องจัดทำงบแสดงฐานะการเงิน และปิดบัญชีรับ-จ่ายให้เสร็จเรียบร้อยก่อน จึงจะเบิกจ่ายเงินโบนัสได้และทำเป็นฎีการายจ่ายรอจ่ายได้ตามหนังสือสั่งการของกระทรวงมหาดไทย

                        -ผู้มีสิทธิได้รับเงินโบนัสประจำปีจะต้องได้รับเงินเดือนจากงบบุคลากร ต้องมีเวลาปฏิบัติราชการที่เทศบาลไม่น้อยกว่า ๘ เดือน และต้องได้รับการประเมินทั้งปี ๒ ครั้ง โดยได้รับการเลื่อนขั้นเงินเดือนไม่ต่ำกว่า ๑ ขั้น กรณีพนักงานจ้างต้องมีผลประเมินการปฏิบัติงานทั้งปีในระดับดีขึ้นไป

                        -ให้เทศบาลยื่นเสนอขอรับการประเมินภายในเดือนกันยายนของทุกปีโดยมีระยะเวลา ๑๒ เดือนเริ่มตั้งแต่ ๑ ตุลาคมของปีที่ประเมิน

                        -ให้เทศบาลเสนอโครงการ/กิจกรรมที่สอดคล้องกับนโยบายหรือยุทธศาสตร์จังหวัด จำนวน ๑ โครงการ และโครงการ/กิจกรรมที่มีความดีเด่นหรือมีความสำคัญ จำนวน ๑ โครงการ โดยเสนอไปพร้อมกับการเสนอขอรับการประเมิน

                        -คณะกรรมการพนักงานเทศบาล (ก.ท.จ.) จะต้องแต่งตั้งคณะอนุกรรมการออกประเมินเมื่อครบกำหนดระยะเวลาที่ขอรับการประเมิน

                        -ให้เทศบาลจ้างสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษา (ตามที่ ก.ท.จ.กำหนด) เพื่อสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการจากเทศบาล

                        -เทศบาลที่จะได้รับเงินประโยชน์ตอบแทนอื่นเป็นกรณีพิเศษ(โบนัส)จะต้องมีคุณสมบัติครบถ้วนและมีผลการประเมินตั้งแต่ ๗๕ คะแนนขึ้นไป

                        -การจ่ายเงินประโยชน์ตอบแทนอื่นเป็นกรณีพิเศษจะต้องทำในรูปคณะกรรมการที่ประกอบด้วย นายกเทศมนตรีเป็นประธาน ปลัดเทศบาลและหัวหน้าส่วนราชการเป็นกรรมการ และจ่ายตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่กำหนดโดยให้นำฐานอัตราเงินเดือน ณ วันที่ ๓๐ กันยายน ของปีงบประมาณที่ขอประเมินมาเป็นฐานคำนวณในการจ่ายเงิน

                        การบริหารผลการปฏิบัติราชการ สรุปสาระสำคัญ ตามลำดับขั้นตอน ดังนี้

                        -ขั้นตอนที่ ๑ วางแผน  เป็นการสร้างข้อตกลงกำหนดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายร่วมกันระหว่างผู้บังคับบัญชากับผู้ใต้บังคับบัญชาระดับปฏิบัติ ภายใต้กรอบทิศทางและเป้าหมายของหน่วยงาน

                        -ขั้นตอนที่ ๒ ติดตาม การติดตามและสอนงานจะนำไปสู่วัฒนธรรมการปฏิบัติราชการเพื่อแก้ปัญหาในการทำงาน เป็นองค์กรที่มุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ของงานเป็นหลัก

                        -ขั้นตอนที่ ๓  พัฒนา จะทำให้ผู้ปฏิบัติราชการทราบถึงความเชื่อมโยงของงานที่ตนกระทำกับผลสำเร็จของหน่วยงานได้อย่างชัดเจนยิ่งขึ้น

                        -ขั้นตอนที่ ๔ ประเมิน เพื่อลดการใช้ดุลยพินิจของผู้บังคับบัญชาต้องทำแบบที่เป็นแบบวิทยาศาสตร์ตรวจสอบได้ โดยการกำหนดตัวชี้วัดร่วมกันก่อนประเมินและจะต้องประเมินด้วยว่าเป็นไปตามตัวชี้วัดที่กำหนด หรือไม่เพื่อให้เกิดการยอมรับและเป็นธรรมกับผู้ถูกประเมินและผู้ประเมิน อาจจะให้ประเมินตนเองและประเมินกันเอง(๓๖๐องศา)ด้วย

-ขั้นตอนที่ ๕ ให้รางวัล เป็นการเสริมสร้างขวัญกำลังใจให้กับผู้ปฏิบัติตามผลแห่งการกระทำสามารถ

ทำได้หลายรูปแบบ เช่น เลื่อนขั้นเงินเดือน เลื่อนระดับตำแหน่งให้สูงขึ้น ประกาศยกย่อง ให้เกียรติบัตร ให้เงินรางวัลประจำปี (โบนัส) เป็นต้น

                   หลักเกณฑ์การให้พนักงานส่วนท้องถิ่น ลูกจ้างและพนักงานจ้างของ อปท. ได้รับเงินเพิ่มการครองชีพชั่วคราว สรุปสาระสำคัญได้ดังนี้

                        ๑.ให้พนักงานเทศบาล ลูกจ้างประจำ และพนักงานจ้างตามภารกิจที่มีวุฒิการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรี ตามคุณสมบัติเฉพาะตำแหน่งที่ได้รับเงินเดือนหรือค่าตอบแทนไม่ถึงเดือนละ ๑๓,๒๘๕ บาท ให้ได้รับเงินเพิ่มการครองชีพชั่วคราวเดือนละ ๒,๐๐๐ บาท แต่เมื่อรวมกับเงินเดือนหรือค่าตอบแทนแล้วจะต้องไม่เกิน ๑๓,๒๘๕ บาท

                        ๒.กรณีพนักงานเทศบาล ลูกจ้างประจำหรือพนักงานจ้างตามภารกิจได้รับเงินเดือนหรือค่าตอบแทนรวมกับเงินเพิ่มการครองชีพชั่วคราวแล้วไม่ถึงเดือนละ ๑๐,๐๐๐ บาท ให้ได้รับเงินเพิ่มการครองชีพชั่วคราวเพิ่มขึ้นอีกจนถึงเดือนละ ๑๐,๐๐๐ บาท

                        ๓.พนักงานจ้างทั่วไปที่กำหนดให้ใช้วุฒิการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรีและมีค่าตอบแทนไม่ถึงเดือนละ ๑๐,๐๐๐ บาท ให้ได้รับเงินเพิ่มการครองชีพชั่วคราวเพิ่มขึ้นจากค่าตอบแทนอีกจนถึงเดือนละ ๑๐,๐๐๐ บาท

                        ๔.การเบิกจ่ายเงินเพิ่มการครองชีพชั่วคราวให้อนุโลมใช้ตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการเบิกจ่ายเงินเพิ่มการครองชีพชั่วคราวของข้าราชการและลูกจ้างประจำของส่วนราชการ โดยมีผลตั้งแต่ วันที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๕๗ เป็นต้นมา

                        การเตรียมความพร้อมทำบัญชีอัตราเงินเดือน (บัญชี ๔) ตามมติคณะรัฐมนตรี สรุปสาระสำคัญๆ ดังนี้ เป็นการปรับปรุงอัตราเงินเดือนสำหรับคุณวุฒิและเงินเพิ่มตามคุณวุฒิสำหรับข้าราชการส่วนท้องถิ่นที่จะได้รับ จำแนกตามช่วงขั้นเงินเดือนและคุณวุฒิการศึกษาที่เป็นคุณสมบัติสำหรับตำแหน่งให้สอดคล้องกับการปรับอัตราเงินเดือนแรกบรรจุของข้าราชการพลเรือน ตามมติ ค.ร.ม.ซึ่งถ้าหากปรับอัตราเงินเดือนแล้วน่าจะส่งผลกระทบต่อการบริหารงานบุคคลของเทศบาลตำบลซำสูงมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งภาระค่าใช้จ่ายด้านการบริหารงานบุคคลของเทศบาลอาจจะใกล้เคียงหรือเกินร้อยละ ๔๐ ได้

                        การประเมินพนักงานจ้าง พนักงานเทศบาล การเลื่อนขั้นเงินเดือน การกำหนดตัวชี้วัดแต่ละตำแหน่ง สรุปสาระสำคัญ ดังนี้

                        ๑.เทศบาลต้องกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลการปฏิบัติบนพื้นฐานของผลสำเร็จและผลสัมฤทธิ์ของงาน โดยการกำหนดตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงานให้ชัดเจน ซึ่งอาจดำเนินการร่วมกันระหว่างผู้บังคับบัญชา หรือผู้ประเมินกับผู้ใต้บังคับบัญชาหรือผู้ถูกประเมินในรูปแบบข้อตกลงการปฏิบัติราชการได้

                        ๒.การประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานอาจประเมินจากปริมาณผลงานคุณภาพผลงาน ความรวดเร็วหรือตรงต่อเวลา และการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า

                        ๓.การประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติงานควรกำหนดสมรรถนะ(พฤติกรรมการทำงาน)ที่เกี่ยวข้องและส่งผลต่อความสำเร็จของงาน ระบุพฤติกรรมบ่งชี้ที่พึงประสงค์ของแต่ละสมรรถนะแล้วให้ประเมินพฤติกรรมที่แสดงออกในการปฏิบัติงานจริงของผู้ถูกประเมินเปรียบเทียบกับพฤติกรรมการทำงานและพฤติกรรมการบ่งชี้ที่กำหนด

                        ๔.การกำหนดตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงานร่วมกันระหว่างผู้บังคับบัญชาหรือผู้ประเมินกับผู้ถูกประเมินจะทำให้เกิดการยอมรับในผลประเมินได้และลดการใช้ดุลยพินิจของผู้ประเมินได้

                        ๓.)วันที่ ๒๓ พฤษภาคม ๒๕๕๘ วิทยากรบรรยายโดย พ.จ.อ.ชนินทร์ ราชมณี ผู้อำนวยการส่วนประสานการถ่ายโอนบุคลากรและมาตรฐานตำแหน่ง บรรยายเรื่อง การจัดทำมาตรฐานกำหนดตำแหน่งข้าราชการส่วนท้องถิ่นในระบบแท่ง แนวทางการเปลี่ยนผ่านเข้าสู่ระบบจำแนกตำแหน่ง(ระบบแท่ง) สรุปได้ดังนี้

                        ๑.ตำแหน่งพนักงานส่วนท้องถิ่นมี ๔ ประเภท ประกอบด้วย

                        - ประเภทบริหารท้องถิ่น ได้แก่ ปลัดและรองปลัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

                        - ประเภทอำนวยการท้องถิ่น ได้แก่ หัวหน้าหน่วยงานระดับฝ่าย ระดับส่วน ระดับกอง และระดับสำนักขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

                        - ประเภทวิชาการ ได้แก่ ตำแหน่งที่ใช้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา ตามมาตรฐานทั่วไปที่คณะกรรมการกลางพนักงานส่วนท้องถิ่นกำหนด

                        - ประเภททั่วไป ได้แก่ ตำแหน่งที่ไม่ใช่ตำแหน่งบริหารท้องถิ่น อำนวยการท้องถิ่นและวิชาการ

                        ๒.ระดับของพนักงานส่วนท้องถิ่น มีดังนี้

                        - บริการท้องถิ่น มี ๓ ระดับ ได้แก่ ระดับต้น ระดับกลาง และระดับสูง

                        - อำนวยการท้องถิ่น มี ๓ ระดับ ได้แก่ ระดับต้น ระดับกลาง และระดับสูง

                        - วิชาการ มี ๔ ระดับ ได้แก่ ระดับปฏิบัติการ ระดับชำนาญการ ระดับชำนาญการพิเศษ และระดับเชี่ยวชาญ

                        - ทั่วไป มี ๓ ระดับ ได้แก่ ปฏิบัติงาน ชำนาญงาน และอาวุโส

                        ๓.การเข้าสู่ระบบจำแนกตำแหน่ง (ระบบแท่ง)

                        - ผู้ดำรงตำแหน่ง ระดับ ๑-๔ ของสายงานเริ่มต้นระดับ ๑ หรือ ระดับ ๒ ให้ไปดำรงตำแหน่ง ประเภททั่วไป ระดับปฏิบัติการ

                        - ผู้ดำรงตำแหน่ง ระดับ ๕-๖ ของสายงานเริ่มต้นจากระดับ ๑ หรือ ระดับ ๒ ให้ไปดำรงตำแหน่งประเภททั่วไป ระดับชำนาญงาน

                        - ผู้ที่ดำรงตำแหน่งระดับ ๗-๘ ของสายงานเริ่มต้นจากระดับ ๑ หรือระดับ ๒ ให้ไปดำรงตำแหน่งประเภททั่วไป ระดับอาวุโส

                        - ผู้ดำรงตำแหน่ง ระดับ ๓-๕ ของสายงานเริ่มต้นจากระดับ ๓ หรือระดับ ๔ ให้ไปดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ

                        - ผู้ดำรงตำแหน่ง ระดับ ๖-๗ ของสายงานเริ่มต้นจากระดับ ๓ หรือระดับ ๔ ให้ไปดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการ

                        - ผู้ดำรงตำแหน่งระดับ ๘ ของสายงานเริ่มต้นจากระดับ ๓ หรือระดับ ๔ ให้ไปดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการพิเศษ

                        - ผู้ดำรงตำแหน่งระดับ ๙ ของสายงานเริ่มต้นจากระดับ ๓ หรือระดับ ๔ ให้ไปดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการระดับเชี่ยวชาญ

                        - ผู้ดำรงตำแหน่ง ระดับ ๖-๗ ของสายงานเริ่มต้นจากระดับ ๖ (นักบริหารงานประเภทต่างๆ ยกเว้นนักบริหารงานท้องถิ่น) ให้ไปดำรงตำแหน่งอำนวยการท้องถิ่น ระดับต้น

                        - ผู้ดำรงตำแหน่ง ระดับ ๘ ของสายงานเริ่มต้น ระดับ ๖ (นักบริหารงานต่างๆ ยกเว้นนักบริหารงานท้องถิ่น)ให้ไปดำรงตำแหน่งอำนวยการท้องถิ่น ระดับกลาง

                        - ผู้ดำรงตำแหน่ง ระดับ ๙ (นักบริหารงานต่างๆ ยกเว้นนักบริหารงานท้องถิ่น)ให้ไปดำรงตำแหน่งอำนวยการท้องถิ่นระดับสูง

                        - ผู้ดำรงตำแหน่งระดับ ๓-๗ ของสายงานนักบริหารท้องถิ่น(ปลัด/รองปลัด)ให้ไปดำรงตำแหน่งประเภท บริหารท้องถิ่น ระดับต้น

                        - ผู้ดำรงตำแหน่ง ระดับ ๘ ของสายงานนักบริหารท้องถิ่น(ปลัด/รองปลัด) ให้ไปดำรงตำแหน่งประเภทบริหารท้องถิ่น ระดับกลาง

                        - ผู้ดำรงตำแหน่ง ระดับ ๙ ของสายงานนักบริหารท้องถิ่น(ปลัด/รองปลัด) ให้ไปดำรงตำแหน่งประเภทบริหารท้องถิ่น ระดับสูง

                        - ดำรงตำแหน่ง ระดับ ๑๐ ของสายงานนักบริหารงานท้องถิ่น (ปลัด) ให้ไปดำรงตำแหน่งประเภทบริหารท้องถิ่นระดับสูง

                        ๔  ความรู้ที่จำเป็น ทักษะที่จำเป็นและสมรรถนะที่จำเป็นในงานของพนักงานส่วนท้องถิ่น

                        (๑)   ความรู้ที่จำเป็นในงานของข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่น มีจำนวน ๒๑ ด้าน ดังนี้

                        ๑.๑  ความรู้ที่จำเป็นในงาน (ความรู้เฉพาะทางในงานที่รับผิดชอบ)

                        ๑.๒  ความรู้เรื่องกฎหมาย  (ความรู้เฉพาะทางในงานที่รับผิดชอบ)

                        ๑.๓  ความรู้เรื่องหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                        ๑.๔  ความรู้ทั่วไปเรื่องชุมชน

                        ๑.๕  ความรู้เรื่องการจัดการความรู้

                        ๑.๖  ความรู้เรื่องการจัดทำแผนปฏิบัติการและแผนยุทธศาสตร์

                        ๑.๗  ความรู้เรื่องการติดตามและประเมินผล

                        ๑.๘  ความรู้เรื่องระบบการจัดการองค์กร

                        ๑.๙  ความรู้เรื่องการวิเคราะห์ผลกระทบต่าง ๆ เช่น การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA)  การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ (HIA) ฯลฯ

                        ๑.๑๐  ความรู้เรื่องการทำงบการเงินและงบประมาณ

                        ๑.๑๑  ความรู้เรื่องระบบการบริหารงานการคลังภาครัฐด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์  (GFMIS)

                        ๑.๑๒  ความรู้เรื่องการบริหารความเสี่ยง

                        ๑.๑๓  ความรู้เรื่องบัญชีและระบบบัญชี

                        ๑.๑๔  ความรู้เรื่องจัดซื้อจัดจ้างและกฎระเบียบพัสดุ

                        ๑.๑๕  ความรู้เรื่องการบริหารทรัพยากรบุคคล

                        ๑.๑๖  ความรู้เรื่องการพัฒนาบุคลากร

                        ๑.๑๗  ความรู้เรื่องงานธุรการและงานสารบรรณ

                        ๑.๑๘  ความรู้เรื่องสถานการณ์ภายนอกและผลกระทบต่อเศรษฐกิจและสังคมพื้นที่

                        ๑.๑๙  ความรู้เรื่องสื่อสาธารณะ

                        ๑.๒๐  ความรู้เรื่องการบริหารจัดการฮาร์ดแวร์  (Hardware)  ซอฟต์แวร์  (Software)  และเน็ตเวิร์ก  (Network)

                        ๑.๒๑  ความรู้เรื่องบรรณารักษ์

                        (๒)  ทักษะที่จำเป็นในงานของข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่น  มีจำนวน  ๙  ด้าน  ดังนี้

                        ๒.๑  ทักษะการบริหารข้อมูล

                        ๒.๒  ทักษะการใช้คอมพิวเตอร์ 

                        ๒.๓  ทักษะการประสานงาน 

                        ๒.๔  ทักษะในการสืบสวน

                        ๒.๕  ทักษะการบริหารโครงการ

                        ๒.๖  ทักษะในการสื่อสาร  การนำเสนอ  และถ่ายทอดความรู้

                        ๒.๗  ทักษะการเขียนรายงานและสรุปผลรายงาน

                        ๒.๘  ทักษะการเขียนหนังสือราชการ

                        ๒.๙  ทักษะการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ทางวิทยาศาสตร์

                        (๓)  สมรรถนะที่จำเป็นในงานของข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่น  จำแนกเป็น  ๓  ประเภท  ดังนี้

                        ๓.๑)  สมรรถนะหลัก  หมายถึง  สมรรถนะที่ข้าราชการทุกประเภทและระดับตำแหน่งจำเป็นต้องมี  เพื่อเป็นการหล่อหลอมให้เกิดพฤติกรรมและค่านิยมที่พึ่งประสงค์ร่วมกัน  ซึ่งจะก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  ประชาชน  สังคม  และประเทศชาติ  ประกอบด้วย  ๕  สมรรถนะ ดังนี้

                                    ๑.  การมุ่งผลสัมฤทธิ์

                                    ๒.  การยึดมั่นในความถูกต้องและจริยธรรม

                                    ๓.  ความเข้าใจในองค์กรและระบบงาน

                                    ๔.  การบริการเป็นเลิศ

                                    ๕.  การทำงานเป็นทีม

                        ๓.๒)  สมรรถนะประจำผู้บริหาร  หมายถึง  สมรรถนะที่ข้าราชการในตำแหน่งประเภทบริหารและอำนวยการ  ซึ่งต้องกำกับดูแลทีมงานหรือผู้ใต้บังคับบัญชาจำเป็นต้องมีในฐานะผู้นำที่มีประสิทธิภาพ  เพื่อนำทีมงานหรือผู้ใต้บังคับบัญชาให้สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพและสอดคล้องตามวัตถุประสงค์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  ประกอบด้วย  ๔  สมรรถนะ  ดังนี้

                                    ๑.  การเป็นผู้นำในการเปลี่ยนแปลง

                                    ๒.  ความสามารถในการเป็นผู้นำ

                                    ๓.  ความสามารถในการพัฒนาคน

                                    ๔.  การคิดเชิงกลยุทธ์

                        ๓.๓)  สมรรถนะประจำสายงาน  หมายถึง  สมรรถนะที่กำหนดเฉพาะสำหรับประเภทและระดับตำแหน่งในสายงานต่าง ๆ เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมให้ข้าราชการที่ดำรงตำแหน่งในสายงานนั้น  สามารถปฏิบัติภารกิจในหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพและบรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  ประกอบด้วย  ๒๒  สมรรถนะ  ดังนี้

                                    ๑.  การกำกับติดตามอย่างสม่ำเสมอ

                                    ๒.  การแก้ไขปัญหาอย่างมืออาชีพ

                                    ๓.  การแก้ปัญหาและดำเนินการเชิงรุก

                                    ๔.  การค้นหาและการบริหารจัดการข้อมูล

                                    ๕.  การควบคุมและจัดการสถานการณ์อย่างสร้างสรรค์

                                    ๖.  การคิดวิเคราะห์

                                    ๗.  การบริหารความเสี่ยง

                                    ๘.  การบริหารทรัพยากร

                                    ๙.  การมุ่งความปลอดภัยและการระวังภัย

                                    ๑๐.  การยึดมั่นในหลักเกณฑ์

                                    ๑๑.  การวางแผนและการจัดการ

                                    ๑๒.  การวิเคราะห์และการบูรณาการ

                                    ๑๓.  การสร้างให้เกิดการมีส่วนร่วมทุกภาคส่วน

                                    ๑๔.  การสั่งสมความรู้และความเชี่ยวชาญในสายอาชีพ

                                    ๑๕.  การให้ความรู้และการสร้างสายสัมพันธ์

                                    ๑๖.  ความเข้าใจผู้อื่นและตอบสนองอย่างสร้างสรรค์

                                    ๑๗.  ความเข้าใจพื้นที่และความถูกต้องของงาน

                                    ๑๘.  ความคิดสร้างสรรค์

                                    ๑๙.  ความละเอียดรอบคอบและความถูกต้องของงาน

                                    ๒๐.  จิตสำนักและรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม

                                    ๒๑.  ศิลปะการโน้มน้าวจูงใจ

                                    ๒๒.  สร้างสรรค์เพื่อประโยชน์ของท้องถิ่น

                        (๔)  สรุปจำนวนสมรรถนะ  ความรู้  ทักษะที่ต้องกำหนดในแต่ละประเภทตำแหน่งต่าง ๆ  ดังนี้

                        ๑)  ประเภทบริหารงานท้องถิ่น  ประกอบด้วย

                                    -  สมรรถนะหลัก  ๕  สมรรถนะ

                                    -  สมรรถนะประจำผู้บริหาร  ๔  สมรรถนะ

                                    -  สมรรถนะประจำสายงาน  ๓  สมรรถนะ

                                    -  ความรู้ที่จำเป็นอย่างน้อย  ๔  ด้าน

                                    -  ทักษะที่จำเป็นอย่างน้อย  ๔  ด้าน

๒)  ประเภทอำนวยการท้องถิ่น  ประกอบด้วย

                                    -  สมรรถนะหลัก  ๕  สมรรถนะ

                                    -  สมรรถนะประจำผู้บริหาร  ๔  สมรรถนะ

                                    -  สมรรถนะประจำสายงาน  ๓  สมรรถนะ

                                    -  ความรู้ที่จำเป็นอย่างน้อย  ๗  ด้าน

                                    -  ทักษะที่จำเป็นอย่างน้อย  ๔  ด้าน

                        ๓)  ประเภทวิชาการ  ประกอบด้วย

                                    -  สมรรถนะหลัก  ๕  สมรรถนะ

                                    -  สมรรถนะประจำสายงาน  ๓  สมรรถนะ

                                    -  ความรู้ที่จำเป็นอย่างน้อย  ๕  ด้าน

                                    -  ทักษะที่จำเป็นอย่างน้อย  ๓  ด้าน

                        ๔)  ประเภททั่วไป  ประกอบด้วย

                                    -  สมรรถนะหลัก  ๕  สมรรถนะ

                                    -  สมรรถนะประจำสายงาน  ๓  สมรรถนะ

                                    -  ความรู้ที่จำเป็นอย่างน้อย  ๓  ด้าน

                                    -  ทักษะที่จำเป็นอย่างน้อย  ๓  ด้าน หลักเกณฑ์เงื่อนไขและวิธีการกำหนดเงินประโยชน์ตอบแทนอื่นเป็นการกรณีพิเศษ ประจำปี ๒๕๕๘ สรุปได้ดังนี้

                        -เทศบาลต้องมีวงเงินคงเหลือตามมาตรา ๓๕ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ.๒๕๔๒ ไม่สูงกว่าร้อยละ ๔๐ ของงบประมาณรายจ่ายประจำปี ๒๕๕๘

                        -เทศบาลต้องมีผลคะแนนการประเมินมาตรฐานการปฏิบัติราชการ (Core Team) ในปี ๒๕๕๗ ทุกด้านๆละไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๖๐

                        -ในเทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี ๒๕๕๘ ต้องมีรายจ่ายเพื่อการพัฒนา(ค่าครุภัณฑ์ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง) ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๑๐

                        -เทศบาลจะต้องจัดทำงบแสดงฐานะการเงิน และปิดบัญชีรับ-จ่ายให้เสร็จเรียบร้อยก่อน จึงจะเบิกจ่ายเงินโบนัสได้และทำเป็นฎีการายจ่ายรอจ่ายได้ตามหนังสือสั่งการของกระทรวงมหาดไทย

                        -ผู้มีสิทธิได้รับเงินโบนัสประจำปีจะต้องได้รับเงินเดือนจากงบบุคลากร ต้องมีเวลาปฏิบัติราชการที่เทศบาลไม่น้อยกว่า ๘ เดือน และต้องได้รับการประเมินทั้งปี ๒ ครั้ง โดยได้รับการเลื่อนขั้นเงินเดือนไม่ต่ำกว่า ๑ ขั้น กรณีพนักงานจ้างต้องมีผลประเมินการปฏิบัติงานทั้งปีในระดับดีขึ้นไป

                        -ให้เทศบาลยื่นเสนอขอรับการประเมินภายในเดือนกันยายนของทุกปีโดยมีระยะเวลา ๑๒ เดือนเริ่มตั้งแต่ ๑ ตุลาคมของปีที่ประเมิน

                        -ให้เทศบาลเสนอโครงการ/กิจกรรมที่สอดคล้องกับนโยบายหรือยุทธศาสตร์จังหวัด จำนวน ๑ โครงการ และโครงการ/กิจกรรมที่มีความดีเด่นหรือมีความสำคัญ จำนวน ๑ โครงการ โดยเสนอไปพร้อมกับการเสนอขอรับการประเมิน

                        -คณะกรรมการพนักงานเทศบาล (ก.ท.จ.) จะต้องแต่งตั้งคณะอนุกรรมการออกประเมินเมื่อครบกำหนดระยะเวลาที่ขอรับการประเมิน

                        -ให้เทศบาลจ้างสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษา (ตามที่ ก.ท.จ.กำหนด) เพื่อสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการจากเทศบาล

                        -เทศบาลที่จะได้รับเงินประโยชน์ตอบแทนอื่นเป็นกรณีพิเศษ(โบนัส)จะต้องมีคุณสมบัติครบถ้วนและมีผลการประเมินตั้งแต่ ๗๕ คะแนนขึ้นไป

                        -การจ่ายเงินประโยชน์ตอบแทนอื่นเป็นกรณีพิเศษจะต้องทำในรูปคณะกรรมการที่ประกอบด้วย นายกเทศมนตรีเป็นประธาน ปลัดเทศบาลและหัวหน้าส่วนราชการเป็นกรรมการ และจ่ายตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่กำหนดโดยให้นำฐานอัตราเงินเดือน ณ วันที่ ๓๐ กันยายน ของปีงบประมาณที่ขอประเมินมาเป็นฐานคำนวณในการจ่ายเงิน

                        การบริหารผลการปฏิบัติราชการ สรุปสาระสำคัญ ตามลำดับขั้นตอน ดังนี้

                        -ขั้นตอนที่ ๑ วางแผน  เป็นการสร้างข้อตกลงกำหนดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายร่วมกันระหว่างผู้บังคับบัญชากับผู้ใต้บังคับบัญชาระดับปฏิบัติ ภายใต้กรอบทิศทางและเป้าหมายของหน่วยงาน

                        -ขั้นตอนที่ ๒ ติดตาม การติดตามและสอนงานจะนำไปสู่วัฒนธรรมการปฏิบัติราชการเพื่อแก้ปัญหาในการทำงาน เป็นองค์กรที่มุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ของงานเป็นหลัก

                        -ขั้นตอนที่ ๓  พัฒนา จะทำให้ผู้ปฏิบัติราชการทราบถึงความเชื่อมโยงของงานที่ตนกระทำกับผลสำเร็จของหน่วยงานได้อย่างชัดเจนยิ่งขึ้น

                        -ขั้นตอนที่ ๔ ประเมิน เพื่อลดการใช้ดุลยพินิจของผู้บังคับบัญชาต้องทำแบบที่เป็นแบบวิทยาศาสตร์ตรวจสอบได้ โดยการกำหนดตัวชี้วัดร่วมกันก่อนประเมินและจะต้องประเมินด้วยว่าเป็นไปตามตัวชี้วัดที่กำหนด หรือไม่เพื่อให้เกิดการยอมรับและเป็นธรรมกับผู้ถูกประเมินและผู้ประเมิน อาจจะให้ประเมินตนเองและประเมินกันเอง(๓๖๐องศา)ด้วย

-ขั้นตอนที่ ๕ ให้รางวัล เป็นการเสริมสร้างขวัญกำลังใจให้กับผู้ปฏิบัติตามผลแห่งการกระทำสามารถ

ทำได้หลายรูปแบบ เช่น เลื่อนขั้นเงินเดือน เลื่อนระดับตำแหน่งให้สูงขึ้น ประกาศยกย่อง ให้เกียรติบัตร ให้เงินรางวัลประจำปี (โบนัส) เป็นต้น

                   หลักเกณฑ์การให้พนักงานส่วนท้องถิ่น ลูกจ้างและพนักงานจ้างของ อปท. ได้รับเงินเพิ่มการครองชีพชั่วคราว สรุปสาระสำคัญได้ดังนี้

                        ๑.ให้พนักงานเทศบาล ลูกจ้างประจำ และพนักงานจ้างตามภารกิจที่มีวุฒิการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรี ตามคุณสมบัติเฉพาะตำแหน่งที่ได้รับเงินเดือนหรือค่าตอบแทนไม่ถึงเดือนละ ๑๓,๒๘๕ บาท ให้ได้รับเงินเพิ่มการครองชีพชั่วคราวเดือนละ ๒,๐๐๐ บาท แต่เมื่อรวมกับเงินเดือนหรือค่าตอบแทนแล้วจะต้องไม่เกิน ๑๓,๒๘๕ บาท

                        ๒.กรณีพนักงานเทศบาล ลูกจ้างประจำหรือพนักงานจ้างตามภารกิจได้รับเงินเดือนหรือค่าตอบแทนรวมกับเงินเพิ่มการครองชีพชั่วคราวแล้วไม่ถึงเดือนละ ๑๐,๐๐๐ บาท ให้ได้รับเงินเพิ่มการครองชีพชั่วคราวเพิ่มขึ้นอีกจนถึงเดือนละ ๑๐,๐๐๐ บาท

                        ๓.พนักงานจ้างทั่วไปที่กำหนดให้ใช้วุฒิการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรีและมีค่าตอบแทนไม่ถึงเดือนละ ๑๐,๐๐๐ บาท ให้ได้รับเงินเพิ่มการครองชีพชั่วคราวเพิ่มขึ้นจากค่าตอบแทนอีกจนถึงเดือนละ ๑๐,๐๐๐ บาท

                        ๔.การเบิกจ่ายเงินเพิ่มการครองชีพชั่วคราวให้อนุโลมใช้ตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการเบิกจ่ายเงินเพิ่มการครองชีพชั่วคราวของข้าราชการและลูกจ้างประจำของส่วนราชการ โดยมีผลตั้งแต่ วันที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๕๗ เป็นต้นมา

                        การเตรียมความพร้อมทำบัญชีอัตราเงินเดือน (บัญชี ๔) ตามมติคณะรัฐมนตรี สรุปสาระสำคัญๆ ดังนี้ เป็นการปรับปรุงอัตราเงินเดือนสำหรับคุณวุฒิและเงินเพิ่มตามคุณวุฒิสำหรับข้าราชการส่วนท้องถิ่นที่จะได้รับ จำแนกตามช่วงขั้นเงินเดือนและคุณวุฒิการศึกษาที่เป็นคุณสมบัติสำหรับตำแหน่งให้สอดคล้องกับการปรับอัตราเงินเดือนแรกบรรจุของข้าราชการพลเรือน ตามมติ ค.ร.ม.ซึ่งถ้าหากปรับอัตราเงินเดือนแล้วน่าจะส่งผลกระทบต่อการบริหารงานบุคคลของเทศบาลตำบลซำสูงมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งภาระค่าใช้จ่ายด้านการบริหารงานบุคคลของเทศบาลอาจจะใกล้เคียงหรือเกินร้อยละ ๔๐ ได้

                        การประเมินพนักงานจ้าง พนักงานเทศบาล การเลื่อนขั้นเงินเดือน การกำหนดตัวชี้วัดแต่ละตำแหน่ง สรุปสาระสำคัญ ดังนี้

                        ๑.เทศบาลต้องกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลการปฏิบัติบนพื้นฐานของผลสำเร็จและผลสัมฤทธิ์ของงาน โดยการกำหนดตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงานให้ชัดเจน ซึ่งอาจดำเนินการร่วมกันระหว่างผู้บังคับบัญชา หรือผู้ประเมินกับผู้ใต้บังคับบัญชาหรือผู้ถูกประเมินในรูปแบบข้อตกลงการปฏิบัติราชการได้

                        ๒.การประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานอาจประเมินจากปริมาณผลงานคุณภาพผลงาน ความรวดเร็วหรือตรงต่อเวลา และการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า

                        ๓.การประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติงานควรกำหนดสมรรถนะ(พฤติกรรมการทำงาน)ที่เกี่ยวข้องและส่งผลต่อความสำเร็จของงาน ระบุพฤติกรรมบ่งชี้ที่พึงประสงค์ของแต่ละสมรรถนะแล้วให้ประเมินพฤติกรรมที่แสดงออกในการปฏิบัติงานจริงของผู้ถูกประเมินเปรียบเทียบกับพฤติกรรมการทำงานและพฤติกรรมการบ่งชี้ที่กำหนด

                        ๔.การกำหนดตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงานร่วมกันระหว่างผู้บังคับบัญชาหรือผู้ประเมินกับผู้ถูกประเมินจะทำให้เกิดการยอมรับในผลประเมินได้และลดการใช้ดุลยพินิจของผู้ประเมินได้

                        ๓.)วันที่ ๒๓ พฤษภาคม ๒๕๕๘ วิทยากรบรรยายโดย พ.จ.อ.ชนินทร์ ราชมณี ผู้อำนวยการส่วนประสานการถ่ายโอนบุคลากรและมาตรฐานตำแหน่ง บรรยายเรื่อง การจัดทำมาตรฐานกำหนดตำแหน่งข้าราชการส่วนท้องถิ่นในระบบแท่ง แนวทางการเปลี่ยนผ่านเข้าสู่ระบบจำแนกตำแหน่ง(ระบบแท่ง) สรุปได้ดังนี้

                        ๑.ตำแหน่งพนักงานส่วนท้องถิ่นมี ๔ ประเภท ประกอบด้วย

                        - ประเภทบริหารท้องถิ่น ได้แก่ ปลัดและรองปลัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

                        - ประเภทอำนวยการท้องถิ่น ได้แก่ หัวหน้าหน่วยงานระดับฝ่าย ระดับส่วน ระดับกอง และระดับสำนักขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

                        - ประเภทวิชาการ ได้แก่ ตำแหน่งที่ใช้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา ตามมาตรฐานทั่วไปที่คณะกรรมการกลางพนักงานส่วนท้องถิ่นกำหนด

                        - ประเภททั่วไป ได้แก่ ตำแหน่งที่ไม่ใช่ตำแหน่งบริหารท้องถิ่น อำนวยการท้องถิ่นและวิชาการ

                        ๒.ระดับของพนักงานส่วนท้องถิ่น มีดังนี้

                        - บริการท้องถิ่น มี ๓ ระดับ ได้แก่ ระดับต้น ระดับกลาง และระดับสูง

                        - อำนวยการท้องถิ่น มี ๓ ระดับ ได้แก่ ระดับต้น ระดับกลาง และระดับสูง

                        - วิชาการ มี ๔ ระดับ ได้แก่ ระดับปฏิบัติการ ระดับชำนาญการ ระดับชำนาญการพิเศษ และระดับเชี่ยวชาญ

                        - ทั่วไป มี ๓ ระดับ ได้แก่ ปฏิบัติงาน ชำนาญงาน และอาวุโส

                        ๓.การเข้าสู่ระบบจำแนกตำแหน่ง (ระบบแท่ง)

                        - ผู้ดำรงตำแหน่ง ระดับ ๑-๔ ของสายงานเริ่มต้นระดับ ๑ หรือ ระดับ ๒ ให้ไปดำรงตำแหน่ง ประเภททั่วไป ระดับปฏิบัติการ

                        - ผู้ดำรงตำแหน่ง ระดับ ๕-๖ ของสายงานเริ่มต้นจากระดับ ๑ หรือ ระดับ ๒ ให้ไปดำรงตำแหน่งประเภททั่วไป ระดับชำนาญงาน

                        - ผู้ที่ดำรงตำแหน่งระดับ ๗-๘ ของสายงานเริ่มต้นจากระดับ ๑ หรือระดับ ๒ ให้ไปดำรงตำแหน่งประเภททั่วไป ระดับอาวุโส

                        - ผู้ดำรงตำแหน่ง ระดับ ๓-๕ ของสายงานเริ่มต้นจากระดับ ๓ หรือระดับ ๔ ให้ไปดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ

                        - ผู้ดำรงตำแหน่ง ระดับ ๖-๗ ของสายงานเริ่มต้นจากระดับ ๓ หรือระดับ ๔ ให้ไปดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการ

                        - ผู้ดำรงตำแหน่งระดับ ๘ ของสายงานเริ่มต้นจากระดับ ๓ หรือระดับ ๔ ให้ไปดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการพิเศษ

                        - ผู้ดำรงตำแหน่งระดับ ๙ ของสายงานเริ่มต้นจากระดับ ๓ หรือระดับ ๔ ให้ไปดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการระดับเชี่ยวชาญ

                        - ผู้ดำรงตำแหน่ง ระดับ ๖-๗ ของสายงานเริ่มต้นจากระดับ ๖ (นักบริหารงานประเภทต่างๆ ยกเว้นนักบริหารงานท้องถิ่น) ให้ไปดำรงตำแหน่งอำนวยการท้องถิ่น ระดับต้น

                        - ผู้ดำรงตำแหน่ง ระดับ ๘ ของสายงานเริ่มต้น ระดับ ๖ (นักบริหารงานต่างๆ ยกเว้นนักบริหารงานท้องถิ่น)ให้ไปดำรงตำแหน่งอำนวยการท้องถิ่น ระดับกลาง

                        - ผู้ดำรงตำแหน่ง ระดับ ๙ (นักบริหารงานต่างๆ ยกเว้นนักบริหารงานท้องถิ่น)ให้ไปดำรงตำแหน่งอำนวยการท้องถิ่นระดับสูง

                        - ผู้ดำรงตำแหน่งระดับ ๓-๗ ของสายงานนักบริหารท้องถิ่น(ปลัด/รองปลัด)ให้ไปดำรงตำแหน่งประเภท บริหารท้องถิ่น ระดับต้น

                        - ผู้ดำรงตำแหน่ง ระดับ ๘ ของสายงานนักบริหารท้องถิ่น(ปลัด/รองปลัด) ให้ไปดำรงตำแหน่งประเภทบริหารท้องถิ่น ระดับกลาง

                        - ผู้ดำรงตำแหน่ง ระดับ ๙ ของสายงานนักบริหารท้องถิ่น(ปลัด/รองปลัด) ให้ไปดำรงตำแหน่งประเภทบริหารท้องถิ่น ระดับสูง

                        - ดำรงตำแหน่ง ระดับ ๑๐ ของสายงานนักบริหารงานท้องถิ่น (ปลัด) ให้ไปดำรงตำแหน่งประเภทบริหารท้องถิ่นระดับสูง

                        ๔  ความรู้ที่จำเป็น ทักษะที่จำเป็นและสมรรถนะที่จำเป็นในงานของพนักงานส่วนท้องถิ่น

                        (๑)   ความรู้ที่จำเป็นในงานของข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่น มีจำนวน ๒๑ ด้าน ดังนี้

                        ๑.๑  ความรู้ที่จำเป็นในงาน (ความรู้เฉพาะทางในงานที่รับผิดชอบ)

                        ๑.๒  ความรู้เรื่องกฎหมาย  (ความรู้เฉพาะทางในงานที่รับผิดชอบ)

                        ๑.๓  ความรู้เรื่องหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                        ๑.๔  ความรู้ทั่วไปเรื่องชุมชน

                        ๑.๕  ความรู้เรื่องการจัดการความรู้

                        ๑.๖  ความรู้เรื่องการจัดทำแผนปฏิบัติการและแผนยุทธศาสตร์

                        ๑.๗  ความรู้เรื่องการติดตามและประเมินผล

                        ๑.๘  ความรู้เรื่องระบบการจัดการองค์กร

                        ๑.๙  ความรู้เรื่องการวิเคราะห์ผลกระทบต่าง ๆ เช่น การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA)  การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ (HIA) ฯลฯ

                        ๑.๑๐  ความรู้เรื่องการทำงบการเงินและงบประมาณ

                        ๑.๑๑  ความรู้เรื่องระบบการบริหารงานการคลังภาครัฐด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์  (GFMIS)

                        ๑.๑๒  ความรู้เรื่องการบริหารความเสี่ยง

                        ๑.๑๓  ความรู้เรื่องบัญชีและระบบบัญชี

                        ๑.๑๔  ความรู้เรื่องจัดซื้อจัดจ้างและกฎระเบียบพัสดุ

                        ๑.๑๕  ความรู้เรื่องการบริหารทรัพยากรบุคคล

                        ๑.๑๖  ความรู้เรื่องการพัฒนาบุคลากร

                        ๑.๑๗  ความรู้เรื่องงานธุรการและงานสารบรรณ

                        ๑.๑๘  ความรู้เรื่องสถานการณ์ภายนอกและผลกระทบต่อเศรษฐกิจและสังคมพื้นที่

                        ๑.๑๙  ความรู้เรื่องสื่อสาธารณะ

                        ๑.๒๐  ความรู้เรื่องการบริหารจัดการฮาร์ดแวร์  (Hardware)  ซอฟต์แวร์  (Software)  และเน็ตเวิร์ก  (Network)

                        ๑.๒๑  ความรู้เรื่องบรรณารักษ์

                        (๒)  ทักษะที่จำเป็นในงานของข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่น  มีจำนวน  ๙  ด้าน  ดังนี้

                        ๒.๑  ทักษะการบริหารข้อมูล

                        ๒.๒  ทักษะการใช้คอมพิวเตอร์ 

                        ๒.๓  ทักษะการประสานงาน 

                        ๒.๔  ทักษะในการสืบสวน

                        ๒.๕  ทักษะการบริหารโครงการ

                        ๒.๖  ทักษะในการสื่อสาร  การนำเสนอ  และถ่ายทอดความรู้

                        ๒.๗  ทักษะการเขียนรายงานและสรุปผลรายงาน

                        ๒.๘  ทักษะการเขียนหนังสือราชการ

                        ๒.๙  ทักษะการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ทางวิทยาศาสตร์

                        (๓)  สมรรถนะที่จำเป็นในงานของข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่น  จำแนกเป็น  ๓  ประเภท  ดังนี้

                        ๓.๑)  สมรรถนะหลัก  หมายถึง  สมรรถนะที่ข้าราชการทุกประเภทและระดับตำแหน่งจำเป็นต้องมี  เพื่อเป็นการหล่อหลอมให้เกิดพฤติกรรมและค่านิยมที่พึ่งประสงค์ร่วมกัน  ซึ่งจะก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  ประชาชน  สังคม  และประเทศชาติ  ประกอบด้วย  ๕  สมรรถนะ ดังนี้

                                    ๑.  การมุ่งผลสัมฤทธิ์

                                    ๒.  การยึดมั่นในความถูกต้องและจริยธรรม

                                    ๓.  ความเข้าใจในองค์กรและระบบงาน

                                    ๔.  การบริการเป็นเลิศ

                                    ๕.  การทำงานเป็นทีม

                        ๓.๒)  สมรรถนะประจำผู้บริหาร  หมายถึง  สมรรถนะที่ข้าราชการในตำแหน่งประเภทบริหารและอำนวยการ  ซึ่งต้องกำกับดูแลทีมงานหรือผู้ใต้บังคับบัญชาจำเป็นต้องมีในฐานะผู้นำที่มีประสิทธิภาพ  เพื่อนำทีมงานหรือผู้ใต้บังคับบัญชาให้สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพและสอดคล้องตามวัตถุประสงค์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  ประกอบด้วย  ๔  สมรรถนะ  ดังนี้

                                    ๑.  การเป็นผู้นำในการเปลี่ยนแปลง

                                    ๒.  ความสามารถในการเป็นผู้นำ

                                    ๓.  ความสามารถในการพัฒนาคน

                                    ๔.  การคิดเชิงกลยุทธ์

                        ๓.๓)  สมรรถนะประจำสายงาน  หมายถึง  สมรรถนะที่กำหนดเฉพาะสำหรับประเภทและระดับตำแหน่งในสายงานต่าง ๆ เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมให้ข้าราชการที่ดำรงตำแหน่งในสายงานนั้น  สามารถปฏิบัติภารกิจในหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพและบรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  ประกอบด้วย  ๒๒  สมรรถนะ  ดังนี้

                                    ๑.  การกำกับติดตามอย่างสม่ำเสมอ

                                    ๒.  การแก้ไขปัญหาอย่างมืออาชีพ

                                    ๓.  การแก้ปัญหาและดำเนินการเชิงรุก

                                    ๔.  การค้นหาและการบริหารจัดการข้อมูล

                                    ๕.  การควบคุมและจัดการสถานการณ์อย่างสร้างสรรค์

                                    ๖.  การคิดวิเคราะห์

                                    ๗.  การบริหารความเสี่ยง

                                    ๘.  การบริหารทรัพยากร

                                    ๙.  การมุ่งความปลอดภัยและการระวังภัย

                                    ๑๐.  การยึดมั่นในหลักเกณฑ์

                                    ๑๑.  การวางแผนและการจัดการ

                                    ๑๒.  การวิเคราะห์และการบูรณาการ

                                    ๑๓.  การสร้างให้เกิดการมีส่วนร่วมทุกภาคส่วน

                                    ๑๔.  การสั่งสมความรู้และความเชี่ยวชาญในสายอาชีพ

                                    ๑๕.  การให้ความรู้และการสร้างสายสัมพันธ์

                                    ๑๖.  ความเข้าใจผู้อื่นและตอบสนองอย่างสร้างสรรค์

                                    ๑๗.  ความเข้าใจพื้นที่และความถูกต้องของงาน

                                    ๑๘.  ความคิดสร้างสรรค์

                                    ๑๙.  ความละเอียดรอบคอบและความถูกต้องของงาน

                                    ๒๐.  จิตสำนักและรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม

                                    ๒๑.  ศิลปะการโน้มน้าวจูงใจ

                                    ๒๒.  สร้างสรรค์เพื่อประโยชน์ของท้องถิ่น

                        (๔)  สรุปจำนวนสมรรถนะ  ความรู้  ทักษะที่ต้องกำหนดในแต่ละประเภทตำแหน่งต่าง ๆ  ดังนี้

                        ๑)  ประเภทบริหารงานท้องถิ่น  ประกอบด้วย

                                    -  สมรรถนะหลัก  ๕  สมรรถนะ

                                    -  สมรรถนะประจำผู้บริหาร  ๔  สมรรถนะ

                                    -  สมรรถนะประจำสายงาน  ๓  สมรรถนะ

                                    -  ความรู้ที่จำเป็นอย่างน้อย  ๔  ด้าน

                                    -  ทักษะที่จำเป็นอย่างน้อย  ๔  ด้าน

๒)  ประเภทอำนวยการท้องถิ่น  ประกอบด้วย

                                    -  สมรรถนะหลัก  ๕  สมรรถนะ

                                    -  สมรรถนะประจำผู้บริหาร  ๔  สมรรถนะ

                                    -  สมรรถนะประจำสายงาน  ๓  สมรรถนะ

                                    -  ความรู้ที่จำเป็นอย่างน้อย  ๗  ด้าน

                                    -  ทักษะที่จำเป็นอย่างน้อย  ๔  ด้าน

                        ๓)  ประเภทวิชาการ  ประกอบด้วย

                                    -  สมรรถนะหลัก  ๕  สมรรถนะ

                                    -  สมรรถนะประจำสายงาน  ๓  สมรรถนะ

                                    -  ความรู้ที่จำเป็นอย่างน้อย  ๕  ด้าน

                                    -  ทักษะที่จำเป็นอย่างน้อย  ๓  ด้าน

                        ๔)  ประเภททั่วไป  ประกอบด้วย

                                    -  สมรรถนะหลัก  ๕  สมรรถนะ

                                    -  สมรรถนะประจำสายงาน  ๓  สมรรถนะ

                                    -  ความรู้ที่จำเป็นอย่างน้อย  ๓  ด้าน

                                    -  ทักษะที่จำเป็นอย่างน้อย  ๓  ด้าน หลักเกณฑ์เงื่อนไขและวิธีการกำหนดเงินประโยชน์ตอบแทนอื่นเป็นการกรณีพิเศษ ประจำปี ๒๕๕๘ สรุปได้ดังนี้

                        -เทศบาลต้องมีวงเงินคงเหลือตามมาตรา ๓๕ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ.๒๕๔๒ ไม่สูงกว่าร้อยละ ๔๐ ของงบประมาณรายจ่ายประจำปี ๒๕๕๘

                        -เทศบาลต้องมีผลคะแนนการประเมินมาตรฐานการปฏิบัติราชการ (Core Team) ในปี ๒๕๕๗ ทุกด้านๆละไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๖๐

                        -ในเทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี ๒๕๕๘ ต้องมีรายจ่ายเพื่อการพัฒนา(ค่าครุภัณฑ์ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง) ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๑๐

                        -เทศบาลจะต้องจัดทำงบแสดงฐานะการเงิน และปิดบัญชีรับ-จ่ายให้เสร็จเรียบร้อยก่อน จึงจะเบิกจ่ายเงินโบนัสได้และทำเป็นฎีการายจ่ายรอจ่ายได้ตามหนังสือสั่งการของกระทรวงมหาดไทย

                        -ผู้มีสิทธิได้รับเงินโบนัสประจำปีจะต้องได้รับเงินเดือนจากงบบุคลากร ต้องมีเวลาปฏิบัติราชการที่เทศบาลไม่น้อยกว่า ๘ เดือน และต้องได้รับการประเมินทั้งปี ๒ ครั้ง โดยได้รับการเลื่อนขั้นเงินเดือนไม่ต่ำกว่า ๑ ขั้น กรณีพนักงานจ้างต้องมีผลประเมินการปฏิบัติงานทั้งปีในระดับดีขึ้นไป

                        -ให้เทศบาลยื่นเสนอขอรับการประเมินภายในเดือนกันยายนของทุกปีโดยมีระยะเวลา ๑๒ เดือนเริ่มตั้งแต่ ๑ ตุลาคมของปีที่ประเมิน

                        -ให้เทศบาลเสนอโครงการ/กิจกรรมที่สอดคล้องกับนโยบายหรือยุทธศาสตร์จังหวัด จำนวน ๑ โครงการ และโครงการ/กิจกรรมที่มีความดีเด่นหรือมีความสำคัญ จำนวน ๑ โครงการ โดยเสนอไปพร้อมกับการเสนอขอรับการประเมิน

                        -คณะกรรมการพนักงานเทศบาล (ก.ท.จ.) จะต้องแต่งตั้งคณะอนุกรรมการออกประเมินเมื่อครบกำหนดระยะเวลาที่ขอรับการประเมิน

                        -ให้เทศบาลจ้างสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษา (ตามที่ ก.ท.จ.กำหนด) เพื่อสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการจากเทศบาล

                        -เทศบาลที่จะได้รับเงินประโยชน์ตอบแทนอื่นเป็นกรณีพิเศษ(โบนัส)จะต้องมีคุณสมบัติครบถ้วนและมีผลการประเมินตั้งแต่ ๗๕ คะแนนขึ้นไป

                        -การจ่ายเงินประโยชน์ตอบแทนอื่นเป็นกรณีพิเศษจะต้องทำในรูปคณะกรรมการที่ประกอบด้วย นายกเทศมนตรีเป็นประธาน ปลัดเทศบาลและหัวหน้าส่วนราชการเป็นกรรมการ และจ่ายตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่กำหนดโดยให้นำฐานอัตราเงินเดือน ณ วันที่ ๓๐ กันยายน ของปีงบประมาณที่ขอประเมินมาเป็นฐานคำนวณในการจ่ายเงิน

                        การบริหารผลการปฏิบัติราชการ สรุปสาระสำคัญ ตามลำดับขั้นตอน ดังนี้

                        -ขั้นตอนที่ ๑ วางแผน  เป็นการสร้างข้อตกลงกำหนดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายร่วมกันระหว่างผู้บังคับบัญชากับผู้ใต้บังคับบัญชาระดับปฏิบัติ ภายใต้กรอบทิศทางและเป้าหมายของหน่วยงาน

                        -ขั้นตอนที่ ๒ ติดตาม การติดตามและสอนงานจะนำไปสู่วัฒนธรรมการปฏิบัติราชการเพื่อแก้ปัญหาในการทำงาน เป็นองค์กรที่มุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ของงานเป็นหลัก

                        -ขั้นตอนที่ ๓  พัฒนา จะทำให้ผู้ปฏิบัติราชการทราบถึงความเชื่อมโยงของงานที่ตนกระทำกับผลสำเร็จของหน่วยงานได้อย่างชัดเจนยิ่งขึ้น

                        -ขั้นตอนที่ ๔ ประเมิน เพื่อลดการใช้ดุลยพินิจของผู้บังคับบัญชาต้องทำแบบที่เป็นแบบวิทยาศาสตร์ตรวจสอบได้ โดยการกำหนดตัวชี้วัดร่วมกันก่อนประเมินและจะต้องประเมินด้วยว่าเป็นไปตามตัวชี้วัดที่กำหนด หรือไม่เพื่อให้เกิดการยอมรับและเป็นธรรมกับผู้ถูกประเมินและผู้ประเมิน อาจจะให้ประเมินตนเองและประเมินกันเอง(๓๖๐องศา)ด้วย

-ขั้นตอนที่ ๕ ให้รางวัล เป็นการเสริมสร้างขวัญกำลังใจให้กับผู้ปฏิบัติตามผลแห่งการกระทำสามารถ

ทำได้หลายรูปแบบ เช่น เลื่อนขั้นเงินเดือน เลื่อนระดับตำแหน่งให้สูงขึ้น ประกาศยกย่อง ให้เกียรติบัตร ให้เงินรางวัลประจำปี (โบนัส) เป็นต้น

                   หลักเกณฑ์การให้พนักงานส่วนท้องถิ่น ลูกจ้างและพนักงานจ้างของ อปท. ได้รับเงินเพิ่มการครองชีพชั่วคราว สรุปสาระสำคัญได้ดังนี้

                        ๑.ให้พนักงานเทศบาล ลูกจ้างประจำ และพนักงานจ้างตามภารกิจที่มีวุฒิการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรี ตามคุณสมบัติเฉพาะตำแหน่งที่ได้รับเงินเดือนหรือค่าตอบแทนไม่ถึงเดือนละ ๑๓,๒๘๕ บาท ให้ได้รับเงินเพิ่มการครองชีพชั่วคราวเดือนละ ๒,๐๐๐ บาท แต่เมื่อรวมกับเงินเดือนหรือค่าตอบแทนแล้วจะต้องไม่เกิน ๑๓,๒๘๕ บาท

                        ๒.กรณีพนักงานเทศบาล ลูกจ้างประจำหรือพนักงานจ้างตามภารกิจได้รับเงินเดือนหรือค่าตอบแทนรวมกับเงินเพิ่มการครองชีพชั่วคราวแล้วไม่ถึงเดือนละ ๑๐,๐๐๐ บาท ให้ได้รับเงินเพิ่มการครองชีพชั่วคราวเพิ่มขึ้นอีกจนถึงเดือนละ ๑๐,๐๐๐ บาท

                        ๓.พนักงานจ้างทั่วไปที่กำหนดให้ใช้วุฒิการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรีและมีค่าตอบแทนไม่ถึงเดือนละ ๑๐,๐๐๐ บาท ให้ได้รับเงินเพิ่มการครองชีพชั่วคราวเพิ่มขึ้นจากค่าตอบแทนอีกจนถึงเดือนละ ๑๐,๐๐๐ บาท

                        ๔.การเบิกจ่ายเงินเพิ่มการครองชีพชั่วคราวให้อนุโลมใช้ตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการเบิกจ่ายเงินเพิ่มการครองชีพชั่วคราวของข้าราชการและลูกจ้างประจำของส่วนราชการ โดยมีผลตั้งแต่ วันที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๕๗ เป็นต้นมา

                        การเตรียมความพร้อมทำบัญชีอัตราเงินเดือน (บัญชี ๔) ตามมติคณะรัฐมนตรี สรุปสาระสำคัญๆ ดังนี้ เป็นการปรับปรุงอัตราเงินเดือนสำหรับคุณวุฒิและเงินเพิ่มตามคุณวุฒิสำหรับข้าราชการส่วนท้องถิ่นที่จะได้รับ จำแนกตามช่วงขั้นเงินเดือนและคุณวุฒิการศึกษาที่เป็นคุณสมบัติสำหรับตำแหน่งให้สอดคล้องกับการปรับอัตราเงินเดือนแรกบรรจุของข้าราชการพลเรือน ตามมติ ค.ร.ม.ซึ่งถ้าหากปรับอัตราเงินเดือนแล้วน่าจะส่งผลกระทบต่อการบริหารงานบุคคลของเทศบาลตำบลซำสูงมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งภาระค่าใช้จ่ายด้านการบริหารงานบุคคลของเทศบาลอาจจะใกล้เคียงหรือเกินร้อยละ ๔๐ ได้

                        การประเมินพนักงานจ้าง พนักงานเทศบาล การเลื่อนขั้นเงินเดือน การกำหนดตัวชี้วัดแต่ละตำแหน่ง สรุปสาระสำคัญ ดังนี้

                        ๑.เทศบาลต้องกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลการปฏิบัติบนพื้นฐานของผลสำเร็จและผลสัมฤทธิ์ของงาน โดยการกำหนดตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงานให้ชัดเจน ซึ่งอาจดำเนินการร่วมกันระหว่างผู้บังคับบัญชา หรือผู้ประเมินกับผู้ใต้บังคับบัญชาหรือผู้ถูกประเมินในรูปแบบข้อตกลงการปฏิบัติราชการได้

                        ๒.การประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานอาจประเมินจากปริมาณผลงานคุณภาพผลงาน ความรวดเร็วหรือตรงต่อเวลา และการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า

                        ๓.การประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติงานควรกำหนดสมรรถนะ(พฤติกรรมการทำงาน)ที่เกี่ยวข้องและส่งผลต่อความสำเร็จของงาน ระบุพฤติกรรมบ่งชี้ที่พึงประสงค์ของแต่ละสมรรถนะแล้วให้ประเมินพฤติกรรมที่แสดงออกในการปฏิบัติงานจริงของผู้ถูกประเมินเปรียบเทียบกับพฤติกรรมการทำงานและพฤติกรรมการบ่งชี้ที่กำหนด

                        ๔.การกำหนดตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงานร่วมกันระหว่างผู้บังคับบัญชาหรือผู้ประเมินกับผู้ถูกประเมินจะทำให้เกิดการยอมรับในผลประเมินได้และลดการใช้ดุลยพินิจของผู้ประเมินได้

                        ๓.)วันที่ ๒๓ พฤษภาคม ๒๕๕๘ วิทยากรบรรยายโดย พ.จ.อ.ชนินทร์ ราชมณี ผู้อำนวยการส่วนประสานการถ่ายโอนบุคลากรและมาตรฐานตำแหน่ง บรรยายเรื่อง การจัดทำมาตรฐานกำหนดตำแหน่งข้าราชการส่วนท้องถิ่นในระบบแท่ง แนวทางการเปลี่ยนผ่านเข้าสู่ระบบจำแนกตำแหน่ง(ระบบแท่ง) สรุปได้ดังนี้

                        ๑.ตำแหน่งพนักงานส่วนท้องถิ่นมี ๔ ประเภท ประกอบด้วย

                        - ประเภทบริหารท้องถิ่น ได้แก่ ปลัดและรองปลัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

                        - ประเภทอำนวยการท้องถิ่น ได้แก่ หัวหน้าหน่วยงานระดับฝ่าย ระดับส่วน ระดับกอง และระดับสำนักขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

                        - ประเภทวิชาการ ได้แก่ ตำแหน่งที่ใช้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา ตามมาตรฐานทั่วไปที่คณะกรรมการกลางพนักงานส่วนท้องถิ่นกำหนด

                        - ประเภททั่วไป ได้แก่ ตำแหน่งที่ไม่ใช่ตำแหน่งบริหารท้องถิ่น อำนวยการท้องถิ่นและวิชาการ

                        ๒.ระดับของพนักงานส่วนท้องถิ่น มีดังนี้

                        - บริการท้องถิ่น มี ๓ ระดับ ได้แก่ ระดับต้น ระดับกลาง และระดับสูง

                        - อำนวยการท้องถิ่น มี ๓ ระดับ ได้แก่ ระดับต้น ระดับกลาง และระดับสูง

                        - วิชาการ มี ๔ ระดับ ได้แก่ ระดับปฏิบัติการ ระดับชำนาญการ ระดับชำนาญการพิเศษ และระดับเชี่ยวชาญ

                        - ทั่วไป มี ๓ ระดับ ได้แก่ ปฏิบัติงาน ชำนาญงาน และอาวุโส

                        ๓.การเข้าสู่ระบบจำแนกตำแหน่ง (ระบบแท่ง)

                        - ผู้ดำรงตำแหน่ง ระดับ ๑-๔ ของสายงานเริ่มต้นระดับ ๑ หรือ ระดับ ๒ ให้ไปดำรงตำแหน่ง ประเภททั่วไป ระดับปฏิบัติการ

                        - ผู้ดำรงตำแหน่ง ระดับ ๕-๖ ของสายงานเริ่มต้นจากระดับ ๑ หรือ ระดับ ๒ ให้ไปดำรงตำแหน่งประเภททั่วไป ระดับชำนาญงาน

                        - ผู้ที่ดำรงตำแหน่งระดับ ๗-๘ ของสายงานเริ่มต้นจากระดับ ๑ หรือระดับ ๒ ให้ไปดำรงตำแหน่งประเภททั่วไป ระดับอาวุโส

                        - ผู้ดำรงตำแหน่ง ระดับ ๓-๕ ของสายงานเริ่มต้นจากระดับ ๓ หรือระดับ ๔ ให้ไปดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ

                        - ผู้ดำรงตำแหน่ง ระดับ ๖-๗ ของสายงานเริ่มต้นจากระดับ ๓ หรือระดับ ๔ ให้ไปดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการ

                        - ผู้ดำรงตำแหน่งระดับ ๘ ของสายงานเริ่มต้นจากระดับ ๓ หรือระดับ ๔ ให้ไปดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการพิเศษ

                        - ผู้ดำรงตำแหน่งระดับ ๙ ของสายงานเริ่มต้นจากระดับ ๓ หรือระดับ ๔ ให้ไปดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการระดับเชี่ยวชาญ

                        - ผู้ดำรงตำแหน่ง ระดับ ๖-๗ ของสายงานเริ่มต้นจากระดับ ๖ (นักบริหารงานประเภทต่างๆ ยกเว้นนักบริหารงานท้องถิ่น) ให้ไปดำรงตำแหน่งอำนวยการท้องถิ่น ระดับต้น

                        - ผู้ดำรงตำแหน่ง ระดับ ๘ ของสายงานเริ่มต้น ระดับ ๖ (นักบริหารงานต่างๆ ยกเว้นนักบริหารงานท้องถิ่น)ให้ไปดำรงตำแหน่งอำนวยการท้องถิ่น ระดับกลาง

                        - ผู้ดำรงตำแหน่ง ระดับ ๙ (นักบริหารงานต่างๆ ยกเว้นนักบริหารงานท้องถิ่น)ให้ไปดำรงตำแหน่งอำนวยการท้องถิ่นระดับสูง

                        - ผู้ดำรงตำแหน่งระดับ ๓-๗ ของสายงานนักบริหารท้องถิ่น(ปลัด/รองปลัด)ให้ไปดำรงตำแหน่งประเภท บริหารท้องถิ่น ระดับต้น

                        - ผู้ดำรงตำแหน่ง ระดับ ๘ ของสายงานนักบริหารท้องถิ่น(ปลัด/รองปลัด) ให้ไปดำรงตำแหน่งประเภทบริหารท้องถิ่น ระดับกลาง

                        - ผู้ดำรงตำแหน่ง ระดับ ๙ ของสายงานนักบริหารท้องถิ่น(ปลัด/รองปลัด) ให้ไปดำรงตำแหน่งประเภทบริหารท้องถิ่น ระดับสูง

                        - ดำรงตำแหน่ง ระดับ ๑๐ ของสายงานนักบริหารงานท้องถิ่น (ปลัด) ให้ไปดำรงตำแหน่งประเภทบริหารท้องถิ่นระดับสูง

                        ๔  ความรู้ที่จำเป็น ทักษะที่จำเป็นและสมรรถนะที่จำเป็นในงานของพนักงานส่วนท้องถิ่น

                        (๑)   ความรู้ที่จำเป็นในงานของข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่น มีจำนวน ๒๑ ด้าน ดังนี้

                        ๑.๑  ความรู้ที่จำเป็นในงาน (ความรู้เฉพาะทางในงานที่รับผิดชอบ)

                        ๑.๒  ความรู้เรื่องกฎหมาย  (ความรู้เฉพาะทางในงานที่รับผิดชอบ)

                        ๑.๓  ความรู้เรื่องหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                        ๑.๔  ความรู้ทั่วไปเรื่องชุมชน

                        ๑.๕  ความรู้เรื่องการจัดการความรู้

                        ๑.๖  ความรู้เรื่องการจัดทำแผนปฏิบัติการและแผนยุทธศาสตร์

                        ๑.๗  ความรู้เรื่องการติดตามและประเมินผล

                        ๑.๘  ความรู้เรื่องระบบการจัดการองค์กร

                        ๑.๙  ความรู้เรื่องการวิเคราะห์ผลกระทบต่าง ๆ เช่น การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA)  การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ (HIA) ฯลฯ

                        ๑.๑๐  ความรู้เรื่องการทำงบการเงินและงบประมาณ

                        ๑.๑๑  ความรู้เรื่องระบบการบริหารงานการคลังภาครัฐด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์  (GFMIS)

                        ๑.๑๒  ความรู้เรื่องการบริหารความเสี่ยง

                        ๑.๑๓  ความรู้เรื่องบัญชีและระบบบัญชี

                        ๑.๑๔  ความรู้เรื่องจัดซื้อจัดจ้างและกฎระเบียบพัสดุ

                        ๑.๑๕  ความรู้เรื่องการบริหารทรัพยากรบุคคล

                        ๑.๑๖  ความรู้เรื่องการพัฒนาบุคลากร

                        ๑.๑๗  ความรู้เรื่องงานธุรการและงานสารบรรณ

                        ๑.๑๘  ความรู้เรื่องสถานการณ์ภายนอกและผลกระทบต่อเศรษฐกิจและสังคมพื้นที่

                        ๑.๑๙  ความรู้เรื่องสื่อสาธารณะ

                        ๑.๒๐  ความรู้เรื่องการบริหารจัดการฮาร์ดแวร์  (Hardware)  ซอฟต์แวร์  (Software)  และเน็ตเวิร์ก  (Network)

                        ๑.๒๑  ความรู้เรื่องบรรณารักษ์

                        (๒)  ทักษะที่จำเป็นในงานของข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่น  มีจำนวน  ๙  ด้าน  ดังนี้

                        ๒.๑  ทักษะการบริหารข้อมูล

                        ๒.๒  ทักษะการใช้คอมพิวเตอร์ 

                        ๒.๓  ทักษะการประสานงาน 

                        ๒.๔  ทักษะในการสืบสวน

                        ๒.๕  ทักษะการบริหารโครงการ

                        ๒.๖  ทักษะในการสื่อสาร  การนำเสนอ  และถ่ายทอดความรู้

                        ๒.๗  ทักษะการเขียนรายงานและสรุปผลรายงาน

                        ๒.๘  ทักษะการเขียนหนังสือราชการ

                        ๒.๙  ทักษะการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ทางวิทยาศาสตร์

                        (๓)  สมรรถนะที่จำเป็นในงานของข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่น  จำแนกเป็น  ๓  ประเภท  ดังนี้

                        ๓.๑)  สมรรถนะหลัก  หมายถึง  สมรรถนะที่ข้าราชการทุกประเภทและระดับตำแหน่งจำเป็นต้องมี  เพื่อเป็นการหล่อหลอมให้เกิดพฤติกรรมและค่านิยมที่พึ่งประสงค์ร่วมกัน  ซึ่งจะก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  ประชาชน  สังคม  และประเทศชาติ  ประกอบด้วย  ๕  สมรรถนะ ดังนี้

                                    ๑.  การมุ่งผลสัมฤทธิ์

                                    ๒.  การยึดมั่นในความถูกต้องและจริยธรรม

                                    ๓.  ความเข้าใจในองค์กรและระบบงาน

                                    ๔.  การบริการเป็นเลิศ

                                    ๕.  การทำงานเป็นทีม

                        ๓.๒)  สมรรถนะประจำผู้บริหาร  หมายถึง  สมรรถนะที่ข้าราชการในตำแหน่งประเภทบริหารและอำนวยการ  ซึ่งต้องกำกับดูแลทีมงานหรือผู้ใต้บังคับบัญชาจำเป็นต้องมีในฐานะผู้นำที่มีประสิทธิภาพ  เพื่อนำทีมงานหรือผู้ใต้บังคับบัญชาให้สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพและสอดคล้องตามวัตถุประสงค์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  ประกอบด้วย  ๔  สมรรถนะ  ดังนี้

                                    ๑.  การเป็นผู้นำในการเปลี่ยนแปลง

                                    ๒.  ความสามารถในการเป็นผู้นำ

                                    ๓.  ความสามารถในการพัฒนาคน

                                    ๔.  การคิดเชิงกลยุทธ์

                        ๓.๓)  สมรรถนะประจำสายงาน  หมายถึง  สมรรถนะที่กำหนดเฉพาะสำหรับประเภทและระดับตำแหน่งในสายงานต่าง ๆ เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมให้ข้าราชการที่ดำรงตำแหน่งในสายงานนั้น  สามารถปฏิบัติภารกิจในหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพและบรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  ประกอบด้วย  ๒๒  สมรรถนะ  ดังนี้

                                    ๑.  การกำกับติดตามอย่างสม่ำเสมอ

                                    ๒.  การแก้ไขปัญหาอย่างมืออาชีพ

                                    ๓.  การแก้ปัญหาและดำเนินการเชิงรุก

                                    ๔.  การค้นหาและการบริหารจัดการข้อมูล

                                    ๕.  การควบคุมและจัดการสถานการณ์อย่างสร้างสรรค์

                                    ๖.  การคิดวิเคราะห์

                                    ๗.  การบริหารความเสี่ยง

                                    ๘.  การบริหารทรัพยากร

                                    ๙.  การมุ่งความปลอดภัยและการระวังภัย

                                    ๑๐.  การยึดมั่นในหลักเกณฑ์

                                    ๑๑.  การวางแผนและการจัดการ

                                    ๑๒.  การวิเคราะห์และการบูรณาการ

                                    ๑๓.  การสร้างให้เกิดการมีส่วนร่วมทุกภาคส่วน

                                    ๑๔.  การสั่งสมความรู้และความเชี่ยวชาญในสายอาชีพ

                                    ๑๕.  การให้ความรู้และการสร้างสายสัมพันธ์

                                    ๑๖.  ความเข้าใจผู้อื่นและตอบสนองอย่างสร้างสรรค์

                                    ๑๗.  ความเข้าใจพื้นที่และความถูกต้องของงาน

                                    ๑๘.  ความคิดสร้างสรรค์

                                    ๑๙.  ความละเอียดรอบคอบและความถูกต้องของงาน

                                    ๒๐.  จิตสำนักและรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม

                                    ๒๑.  ศิลปะการโน้มน้าวจูงใจ

                                    ๒๒.  สร้างสรรค์เพื่อประโยชน์ของท้องถิ่น

                        (๔)  สรุปจำนวนสมรรถนะ  ความรู้  ทักษะที่ต้องกำหนดในแต่ละประเภทตำแหน่งต่าง ๆ  ดังนี้

                        ๑)  ประเภทบริหารงานท้องถิ่น  ประกอบด้วย

                                    -  สมรรถนะหลัก  ๕  สมรรถนะ

                                    -  สมรรถนะประจำผู้บริหาร  ๔  สมรรถนะ

                                    -  สมรรถนะประจำสายงาน  ๓  สมรรถนะ

                                    -  ความรู้ที่จำเป็นอย่างน้อย  ๔  ด้าน

                                    -  ทักษะที่จำเป็นอย่างน้อย  ๔  ด้าน

๒)  ประเภทอำนวยการท้องถิ่น  ประกอบด้วย

                                    -  สมรรถนะหลัก  ๕  สมรรถนะ

                                    -  สมรรถนะประจำผู้บริหาร  ๔  สมรรถนะ

                                    -  สมรรถนะประจำสายงาน  ๓  สมรรถนะ

                                    -  ความรู้ที่จำเป็นอย่างน้อย  ๗  ด้าน

                                    -  ทักษะที่จำเป็นอย่างน้อย  ๔  ด้าน

                        ๓)  ประเภทวิชาการ  ประกอบด้วย

                                    -  สมรรถนะหลัก  ๕  สมรรถนะ

                                    -  สมรรถนะประจำสายงาน  ๓  สมรรถนะ

                                    -  ความรู้ที่จำเป็นอย่างน้อย  ๕  ด้าน

                                    -  ทักษะที่จำเป็นอย่างน้อย  ๓  ด้าน

                        ๔)  ประเภททั่วไป  ประกอบด้วย

                                    -  สมรรถนะหลัก  ๕  สมรรถนะ

                                    -  สมรรถนะประจำสายงาน  ๓  สมรรถนะ

                                    -  ความรู้ที่จำเป็นอย่างน้อย  ๓  ด้าน

                                    -  ทักษะที่จำเป็นอย่างน้อย  ๓  ด้าน หลักเกณฑ์เงื่อนไขและวิธีการกำหนดเงินประโยชน์ตอบแทนอื่นเป็นการกรณีพิเศษ ประจำปี ๒๕๕๘ สรุปได้ดังนี้

                        -เทศบาลต้องมีวงเงินคงเหลือตามมาตรา ๓๕ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ.๒๕๔๒ ไม่สูงกว่าร้อยละ ๔๐ ของงบประมาณรายจ่ายประจำปี ๒๕๕๘

                        -เทศบาลต้องมีผลคะแนนการประเมินมาตรฐานการปฏิบัติราชการ (Core Team) ในปี ๒๕๕๗ ทุกด้านๆละไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๖๐

                        -ในเทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี ๒๕๕๘ ต้องมีรายจ่ายเพื่อการพัฒนา(ค่าครุภัณฑ์ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง) ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๑๐

                        -เทศบาลจะต้องจัดทำงบแสดงฐานะการเงิน และปิดบัญชีรับ-จ่ายให้เสร็จเรียบร้อยก่อน จึงจะเบิกจ่ายเงินโบนัสได้และทำเป็นฎีการายจ่ายรอจ่ายได้ตามหนังสือสั่งการของกระทรวงมหาดไทย

                        -ผู้มีสิทธิได้รับเงินโบนัสประจำปีจะต้องได้รับเงินเดือนจากงบบุคลากร ต้องมีเวลาปฏิบัติราชการที่เทศบาลไม่น้อยกว่า ๘ เดือน และต้องได้รับการประเมินทั้งปี ๒ ครั้ง โดยได้รับการเลื่อนขั้นเงินเดือนไม่ต่ำกว่า ๑ ขั้น กรณีพนักงานจ้างต้องมีผลประเมินการปฏิบัติงานทั้งปีในระดับดีขึ้นไป

                        -ให้เทศบาลยื่นเสนอขอรับการประเมินภายในเดือนกันยายนของทุกปีโดยมีระยะเวลา ๑๒ เดือนเริ่มตั้งแต่ ๑ ตุลาคมของปีที่ประเมิน

                        -ให้เทศบาลเสนอโครงการ/กิจกรรมที่สอดคล้องกับนโยบายหรือยุทธศาสตร์จังหวัด จำนวน ๑ โครงการ และโครงการ/กิจกรรมที่มีความดีเด่นหรือมีความสำคัญ จำนวน ๑ โครงการ โดยเสนอไปพร้อมกับการเสนอขอรับการประเมิน

                        -คณะกรรมการพนักงานเทศบาล (ก.ท.จ.) จะต้องแต่งตั้งคณะอนุกรรมการออกประเมินเมื่อครบกำหนดระยะเวลาที่ขอรับการประเมิน

                        -ให้เทศบาลจ้างสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษา (ตามที่ ก.ท.จ.กำหนด) เพื่อสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการจากเทศบาล

                        -เทศบาลที่จะได้รับเงินประโยชน์ตอบแทนอื่นเป็นกรณีพิเศษ(โบนัส)จะต้องมีคุณสมบัติครบถ้วนและมีผลการประเมินตั้งแต่ ๗๕ คะแนนขึ้นไป

                        -การจ่ายเงินประโยชน์ตอบแทนอื่นเป็นกรณีพิเศษจะต้องทำในรูปคณะกรรมการที่ประกอบด้วย นายกเทศมนตรีเป็นประธาน ปลัดเทศบาลและหัวหน้าส่วนราชการเป็นกรรมการ และจ่ายตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่กำหนดโดยให้นำฐานอัตราเงินเดือน ณ วันที่ ๓๐ กันยายน ของปีงบประมาณที่ขอประเมินมาเป็นฐานคำนวณในการจ่ายเงิน

                        การบริหารผลการปฏิบัติราชการ สรุปสาระสำคัญ ตามลำดับขั้นตอน ดังนี้

                        -ขั้นตอนที่ ๑ วางแผน  เป็นการสร้างข้อตกลงกำหนดตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายร่วมกันระหว่างผู้บังคับบัญชากับผู้ใต้บังคับบัญชาระดับปฏิบัติ ภายใต้กรอบทิศทางและเป้าหมายของหน่วยงาน

                        -ขั้นตอนที่ ๒ ติดตาม การติดตามและสอนงานจะนำไปสู่วัฒนธรรมการปฏิบัติราชการเพื่อแก้ปัญหาในการทำงาน เป็นองค์กรที่มุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ของงานเป็นหลัก

                        -ขั้นตอนที่ ๓  พัฒนา จะทำให้ผู้ปฏิบัติราชการทราบถึงความเชื่อมโยงของงานที่ตนกระทำกับผลสำเร็จของหน่วยงานได้อย่างชัดเจนยิ่งขึ้น

                        -ขั้นตอนที่ ๔ ประเมิน เพื่อลดการใช้ดุลยพินิจของผู้บังคับบัญชาต้องทำแบบที่เป็นแบบวิทยาศาสตร์ตรวจสอบได้ โดยการกำหนดตัวชี้วัดร่วมกันก่อนประเมินและจะต้องประเมินด้วยว่าเป็นไปตามตัวชี้วัดที่กำหนด หรือไม่เพื่อให้เกิดการยอมรับและเป็นธรรมกับผู้ถูกประเมินและผู้ประเมิน อาจจะให้ประเมินตนเองและประเมินกันเอง(๓๖๐องศา)ด้วย

-ขั้นตอนที่ ๕ ให้รางวัล เป็นการเสริมสร้างขวัญกำลังใจให้กับผู้ปฏิบัติตามผลแห่งการกระทำสามารถ

ทำได้หลายรูปแบบ เช่น เลื่อนขั้นเงินเดือน เลื่อนระดับตำแหน่งให้สูงขึ้น ประกาศยกย่อง ให้เกียรติบัตร ให้เงินรางวัลประจำปี (โบนัส) เป็นต้น

                   หลักเกณฑ์การให้พนักงานส่วนท้องถิ่น ลูกจ้างและพนักงานจ้างของ อปท. ได้รับเงินเพิ่มการครองชีพชั่วคราว สรุปสาระสำคัญได้ดังนี้

                        ๑.ให้พนักงานเทศบาล ลูกจ้างประจำ และพนักงานจ้างตามภารกิจที่มีวุฒิการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรี ตามคุณสมบัติเฉพาะตำแหน่งที่ได้รับเงินเดือนหรือค่าตอบแทนไม่ถึงเดือนละ ๑๓,๒๘๕ บาท ให้ได้รับเงินเพิ่มการครองชีพชั่วคราวเดือนละ ๒,๐๐๐ บาท แต่เมื่อรวมกับเงินเดือนหรือค่าตอบแทนแล้วจะต้องไม่เกิน ๑๓,๒๘๕ บาท

                        ๒.กรณีพนักงานเทศบาล ลูกจ้างประจำหรือพนักงานจ้างตามภารกิจได้รับเงินเดือนหรือค่าตอบแทนรวมกับเงินเพิ่มการครองชีพชั่วคราวแล้วไม่ถึงเดือนละ ๑๐,๐๐๐ บาท ให้ได้รับเงินเพิ่มการครองชีพชั่วคราวเพิ่มขึ้นอีกจนถึงเดือนละ ๑๐,๐๐๐ บาท

                        ๓.พนักงานจ้างทั่วไปที่กำหนดให้ใช้วุฒิการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรีและมีค่าตอบแทนไม่ถึงเดือนละ ๑๐,๐๐๐ บาท ให้ได้รับเงินเพิ่มการครองชีพชั่วคราวเพิ่มขึ้นจากค่าตอบแทนอีกจนถึงเดือนละ ๑๐,๐๐๐ บาท

                        ๔.การเบิกจ่ายเงินเพิ่มการครองชีพชั่วคราวให้อนุโลมใช้ตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการเบิกจ่ายเงินเพิ่มการครองชีพชั่วคราวของข้าราชการและลูกจ้างประจำของส่วนราชการ โดยมีผลตั้งแต่ วันที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๕๗ เป็นต้นมา

                        การเตรียมความพร้อมทำบัญชีอัตราเงินเดือน (บัญชี ๔) ตามมติคณะรัฐมนตรี สรุปสาระสำคัญๆ ดังนี้ เป็นการปรับปรุงอัตราเงินเดือนสำหรับคุณวุฒิและเงินเพิ่มตามคุณวุฒิสำหรับข้าราชการส่วนท้องถิ่นที่จะได้รับ จำแนกตามช่วงขั้นเงินเดือนและคุณวุฒิการศึกษาที่เป็นคุณสมบัติสำหรับตำแหน่งให้สอดคล้องกับการปรับอัตราเงินเดือนแรกบรรจุของข้าราชการพลเรือน ตามมติ ค.ร.ม.ซึ่งถ้าหากปรับอัตราเงินเดือนแล้วน่าจะส่งผลกระทบต่อการบริหารงานบุคคลของเทศบาลตำบลซำสูงมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งภาระค่าใช้จ่ายด้านการบริหารงานบุคคลของเทศบาลอาจจะใกล้เคียงหรือเกินร้อยละ ๔๐ ได้

                        การประเมินพนักงานจ้าง พนักงานเทศบาล การเลื่อนขั้นเงินเดือน การกำหนดตัวชี้วัดแต่ละตำแหน่ง สรุปสาระสำคัญ ดังนี้

                        ๑.เทศบาลต้องกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลการปฏิบัติบนพื้นฐานของผลสำเร็จและผลสัมฤทธิ์ของงาน โดยการกำหนดตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงานให้ชัดเจน ซึ่งอาจดำเนินการร่วมกันระหว่างผู้บังคับบัญชา หรือผู้ประเมินกับผู้ใต้บังคับบัญชาหรือผู้ถูกประเมินในรูปแบบข้อตกลงการปฏิบัติราชการได้

                        ๒.การประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานอาจประเมินจากปริมาณผลงานคุณภาพผลงาน ความรวดเร็วหรือตรงต่อเวลา และการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า

                        ๓.การประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติงานควรกำหนดสมรรถนะ(พฤติกรรมการทำงาน)ที่เกี่ยวข้องและส่งผลต่อความสำเร็จของงาน ระบุพฤติกรรมบ่งชี้ที่พึงประสงค์ของแต่ละสมรรถนะแล้วให้ประเมินพฤติกรรมที่แสดงออกในการปฏิบัติงานจริงของผู้ถูกประเมินเปรียบเทียบกับพฤติกรรมการทำงานและพฤติกรรมการบ่งชี้ที่กำหนด

                        ๔.การกำหนดตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงานร่วมกันระหว่างผู้บังคับบัญชาหรือผู้ประเมินกับผู้ถูกประเมินจะทำให้เกิดการยอมรับในผลประเมินได้และลดการใช้ดุลยพินิจของผู้ประเมินได้

                        ๓.)วันที่ ๒๓ พฤษภาคม ๒๕๕๘ วิทยากรบรรยายโดย พ.จ.อ.ชนินทร์ ราชมณี ผู้อำนวยการส่วนประสานการถ่ายโอนบุคลากรและมาตรฐานตำแหน่ง บรรยายเรื่อง การจัดทำมาตรฐานกำหนดตำแหน่งข้าราชการส่วนท้องถิ่นในระบบแท่ง แนวทางการเปลี่ยนผ่านเข้าสู่ระบบจำแนกตำแหน่ง(ระบบแท่ง) สรุปได้ดังนี้

                        ๑.ตำแหน่งพนักงานส่วนท้องถิ่นมี ๔ ประเภท ประกอบด้วย

                        - ประเภทบริหารท้องถิ่น ได้แก่ ปลัดและรองปลัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

                        - ประเภทอำนวยการท้องถิ่น ได้แก่ หัวหน้าหน่วยงานระดับฝ่าย ระดับส่วน ระดับกอง และระดับสำนักขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

                        - ประเภทวิชาการ ได้แก่ ตำแหน่งที่ใช้ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา ตามมาตรฐานทั่วไปที่คณะกรรมการกลางพนักงานส่วนท้องถิ่นกำหนด

                        - ประเภททั่วไป ได้แก่ ตำแหน่งที่ไม่ใช่ตำแหน่งบริหารท้องถิ่น อำนวยการท้องถิ่นและวิชาการ

                        ๒.ระดับของพนักงานส่วนท้องถิ่น มีดังนี้

                        - บริการท้องถิ่น มี ๓ ระดับ ได้แก่ ระดับต้น ระดับกลาง และระดับสูง

                        - อำนวยการท้องถิ่น มี ๓ ระดับ ได้แก่ ระดับต้น ระดับกลาง และระดับสูง

                        - วิชาการ มี ๔ ระดับ ได้แก่ ระดับปฏิบัติการ ระดับชำนาญการ ระดับชำนาญการพิเศษ และระดับเชี่ยวชาญ

                        - ทั่วไป มี ๓ ระดับ ได้แก่ ปฏิบัติงาน ชำนาญงาน และอาวุโส

                        ๓.การเข้าสู่ระบบจำแนกตำแหน่ง (ระบบแท่ง)

                        - ผู้ดำรงตำแหน่ง ระดับ ๑-๔ ของสายงานเริ่มต้นระดับ ๑ หรือ ระดับ ๒ ให้ไปดำรงตำแหน่ง ประเภททั่วไป ระดับปฏิบัติการ

                        - ผู้ดำรงตำแหน่ง ระดับ ๕-๖ ของสายงานเริ่มต้นจากระดับ ๑ หรือ ระดับ ๒ ให้ไปดำรงตำแหน่งประเภททั่วไป ระดับชำนาญงาน

                        - ผู้ที่ดำรงตำแหน่งระดับ ๗-๘ ของสายงานเริ่มต้นจากระดับ ๑ หรือระดับ ๒ ให้ไปดำรงตำแหน่งประเภททั่วไป ระดับอาวุโส

                        - ผู้ดำรงตำแหน่ง ระดับ ๓-๕ ของสายงานเริ่มต้นจากระดับ ๓ หรือระดับ ๔ ให้ไปดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ

                        - ผู้ดำรงตำแหน่ง ระดับ ๖-๗ ของสายงานเริ่มต้นจากระดับ ๓ หรือระดับ ๔ ให้ไปดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการ

                        - ผู้ดำรงตำแหน่งระดับ ๘ ของสายงานเริ่มต้นจากระดับ ๓ หรือระดับ ๔ ให้ไปดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการพิเศษ

                        - ผู้ดำรงตำแหน่งระดับ ๙ ของสายงานเริ่มต้นจากระดับ ๓ หรือระดับ ๔ ให้ไปดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการระดับเชี่ยวชาญ

                        - ผู้ดำรงตำแหน่ง ระดับ ๖-๗ ของสายงานเริ่มต้นจากระดับ ๖ (นักบริหารงานประเภทต่างๆ ยกเว้นนักบริหารงานท้องถิ่น) ให้ไปดำรงตำแหน่งอำนวยการท้องถิ่น ระดับต้น

                        - ผู้ดำรงตำแหน่ง ระดับ ๘ ของสายงานเริ่มต้น ระดับ ๖ (นักบริหารงานต่างๆ ยกเว้นนักบริหารงานท้องถิ่น)ให้ไปดำรงตำแหน่งอำนวยการท้องถิ่น ระดับกลาง

                        - ผู้ดำรงตำแหน่ง ระดับ ๙ (นักบริหารงานต่างๆ ยกเว้นนักบริหารงานท้องถิ่น)ให้ไปดำรงตำแหน่งอำนวยการท้องถิ่นระดับสูง

                        - ผู้ดำรงตำแหน่งระดับ ๓-๗ ของสายงานนักบริหารท้องถิ่น(ปลัด/รองปลัด)ให้ไปดำรงตำแหน่งประเภท บริหารท้องถิ่น ระดับต้น

                        - ผู้ดำรงตำแหน่ง ระดับ ๘ ของสายงานนักบริหารท้องถิ่น(ปลัด/รองปลัด) ให้ไปดำรงตำแหน่งประเภทบริหารท้องถิ่น ระดับกลาง

                        - ผู้ดำรงตำแหน่ง ระดับ ๙ ของสายงานนักบริหารท้องถิ่น(ปลัด/รองปลัด) ให้ไปดำรงตำแหน่งประเภทบริหารท้องถิ่น ระดับสูง

                        - ดำรงตำแหน่ง ระดับ ๑๐ ของสายงานนักบริหารงานท้องถิ่น (ปลัด) ให้ไปดำรงตำแหน่งประเภทบริหารท้องถิ่นระดับสูง

                        ๔  ความรู้ที่จำเป็น ทักษะที่จำเป็นและสมรรถนะที่จำเป็นในงานของพนักงานส่วนท้องถิ่น

                        (๑)   ความรู้ที่จำเป็นในงานของข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่น มีจำนวน ๒๑ ด้าน ดังนี้

                        ๑.๑  ความรู้ที่จำเป็นในงาน (ความรู้เฉพาะทางในงานที่รับผิดชอบ)

                        ๑.๒  ความรู้เรื่องกฎหมาย  (ความรู้เฉพาะทางในงานที่รับผิดชอบ)

                        ๑.๓  ความรู้เรื่องหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                        ๑.๔  ความรู้ทั่วไปเรื่องชุมชน

                        ๑.๕  ความรู้เรื่องการจัดการความรู้

                        ๑.๖  ความรู้เรื่องการจัดทำแผนปฏิบัติการและแผนยุทธศาสตร์

                        ๑.๗  ความรู้เรื่องการติดตามและประเมินผล

                        ๑.๘  ความรู้เรื่องระบบการจัดการองค์กร

                        ๑.๙  ความรู้เรื่องการวิเคราะห์ผลกระทบต่าง ๆ เช่น การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA)  การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ (HIA) ฯลฯ

                        ๑.๑๐  ความรู้เรื่องการทำงบการเงินและงบประมาณ

                        ๑.๑๑  ความรู้เรื่องระบบการบริหารงานการคลังภาครัฐด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์  (GFMIS)

                        ๑.๑๒  ความรู้เรื่องการบริหารความเสี่ยง

                        ๑.๑๓  ความรู้เรื่องบัญชีและระบบบัญชี

                        ๑.๑๔  ความรู้เรื่องจัดซื้อจัดจ้างและกฎระเบียบพัสดุ

                        ๑.๑๕  ความรู้เรื่องการบริหารทรัพยากรบุคคล

                        ๑.๑๖  ความรู้เรื่องการพัฒนาบุคลากร

                        ๑.๑๗  ความรู้เรื่องงานธุรการและงานสารบรรณ

                        ๑.๑๘  ความรู้เรื่องสถานการณ์ภายนอกและผลกระทบต่อเศรษฐกิจและสังคมพื้นที่

                        ๑.๑๙  ความรู้เรื่องสื่อสาธารณะ

                        ๑.๒๐  ความรู้เรื่องการบริหารจัดการฮาร์ดแวร์  (Hardware)  ซอฟต์แวร์  (Software)  และเน็ตเวิร์ก  (Network)

                        ๑.๒๑  ความรู้เรื่องบรรณารักษ์

                        (๒)  ทักษะที่จำเป็นในงานของข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่น  มีจำนวน  ๙  ด้าน  ดังนี้

                        ๒.๑  ทักษะการบริหารข้อมูล

                        ๒.๒  ทักษะการใช้คอมพิวเตอร์ 

                        ๒.๓  ทักษะการประสานงาน 

                        ๒.๔  ทักษะในการสืบสวน

                        ๒.๕  ทักษะการบริหารโครงการ

                        ๒.๖  ทักษะในการสื่อสาร  การนำเสนอ  และถ่ายทอดความรู้

                        ๒.๗  ทักษะการเขียนรายงานและสรุปผลรายงาน

                        ๒.๘  ทักษะการเขียนหนังสือราชการ

                        ๒.๙  ทักษะการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ทางวิทยาศาสตร์

                        (๓)  สมรรถนะที่จำเป็นในงานของข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่น  จำแนกเป็น  ๓  ประเภท  ดังนี้

                        ๓.๑)  สมรรถนะหลัก  หมายถึง  สมรรถนะที่ข้าราชการทุกประเภทและระดับตำแหน่งจำเป็นต้องมี  เพื่อเป็นการหล่อหลอมให้เกิดพฤติกรรมและค่านิยมที่พึ่งประสงค์ร่วมกัน  ซึ่งจะก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  ประชาชน  สังคม  และประเทศชาติ  ประกอบด้วย  ๕  สมรรถนะ ดังนี้

                                    ๑.  การมุ่งผลสัมฤทธิ์

                                    ๒.  การยึดมั่นในความถูกต้องและจริยธรรม

                                    ๓.  ความเข้าใจในองค์กรและระบบงาน

                                    ๔.  การบริการเป็นเลิศ

                                    ๕.  การทำงานเป็นทีม

                        ๓.๒)  สมรรถนะประจำผู้บริหาร  หมายถึง  สมรรถนะที่ข้าราชการในตำแหน่งประเภทบริหารและอำนวยการ  ซึ่งต้องกำกับดูแลทีมงานหรือผู้ใต้บังคับบัญชาจำเป็นต้องมีในฐานะผู้นำที่มีประสิทธิภาพ  เพื่อนำทีมงานหรือผู้ใต้บังคับบัญชาให้สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพและสอดคล้องตามวัตถุประสงค์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  ประกอบด้วย  ๔  สมรรถนะ  ดังนี้

                                    ๑.  การเป็นผู้นำในการเปลี่ยนแปลง

                                    ๒.  ความสามารถในการเป็นผู้นำ

                                    ๓.  ความสามารถในการพัฒนาคน

                                    ๔.  การคิดเชิงกลยุทธ์

                        ๓.๓)  สมรรถนะประจำสายงาน  หมายถึง  สมรรถนะที่กำหนดเฉพาะสำหรับประเภทและระดับตำแหน่งในสายงานต่าง ๆ เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมให้ข้าราชการที่ดำรงตำแหน่งในสายงานนั้น  สามารถปฏิบัติภารกิจในหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพและบรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  ประกอบด้วย  ๒๒  สมรรถนะ  ดังนี้

                                    ๑.  การกำกับติดตามอย่างสม่ำเสมอ

                                    ๒.  การแก้ไขปัญหาอย่างมืออาชีพ

                                    ๓.  การแก้ปัญหาและดำเนินการเชิงรุก

                                    ๔.  การค้นหาและการบริหารจัดการข้อมูล

                                    ๕.  การควบคุมและจัดการสถานการณ์อย่างสร้างสรรค์

                                    ๖.  การคิดวิเคราะห์

                                    ๗.  การบริหารความเสี่ยง

                                    ๘.  การบริหารทรัพยากร

                                    ๙.  การมุ่งความปลอดภัยและการระวังภัย

                                    ๑๐.  การยึดมั่นในหลักเกณฑ์

                                    ๑๑.  การวางแผนและการจัดการ

                                    ๑๒.  การวิเคราะห์และการบูรณาการ

                                    ๑๓.  การสร้างให้เกิดการมีส่วนร่วมทุกภาคส่วน

                                    ๑๔.  การสั่งสมความรู้และความเชี่ยวชาญในสายอาชีพ

                                    ๑๕.  การให้ความรู้และการสร้างสายสัมพันธ์

                                    ๑๖.  ความเข้าใจผู้อื่นและตอบสนองอย่างสร้างสรรค์

                                    ๑๗.  ความเข้าใจพื้นที่และความถูกต้องของงาน

                                    ๑๘.  ความคิดสร้างสรรค์

                                    ๑๙.  ความละเอียดรอบคอบและความถูกต้องของงาน

                                    ๒๐.  จิตสำนักและรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม

                                    ๒๑.  ศิลปะการโน้มน้าวจูงใจ

                                    ๒๒.  สร้างสรรค์เพื่อประโยชน์ของท้องถิ่น

                        (๔)  สรุปจำนวนสมรรถนะ  ความรู้  ทักษะที่ต้องกำหนดในแต่ละประเภทตำแหน่งต่าง ๆ  ดังนี้

                        ๑)  ประเภทบริหารงานท้องถิ่น  ประกอบด้วย

                                    -  สมรรถนะหลัก  ๕  สมรรถนะ

                                    -  สมรรถนะประจำผู้บริหาร  ๔  สมรรถนะ

                                    -  สมรรถนะประจำสายงาน  ๓  สมรรถนะ

                                    -  ความรู้ที่จำเป็นอย่างน้อย  ๔  ด้าน

                                    -  ทักษะที่จำเป็นอย่างน้อย  ๔  ด้าน

๒)  ประเภทอำนวยการท้องถิ่น  ประกอบด้วย

                                    -  สมรรถนะหลัก  ๕  สมรรถนะ

                                    -  สมรรถนะประจำผู้บริหาร  ๔  สมรรถนะ

                                    -  สมรรถนะประจำสายงาน  ๓  สมรรถนะ

                                    -  ความรู้ที่จำเป็นอย่างน้อย  ๗  ด้าน

                                    -  ทักษะที่จำเป็นอย่างน้อย  ๔  ด้าน

                        ๓)  ประเภทวิชาการ  ประกอบด้วย

                                    -  สมรรถนะหลัก  ๕  สมรรถนะ

                                    -  สมรรถนะประจำสายงาน  ๓  สมรรถนะ

                                    -  ความรู้ที่จำเป็นอย่างน้อย  ๕  ด้าน

                                    -  ทักษะที่จำเป็นอย่างน้อย  ๓  ด้าน

                        ๔)  ประเภททั่วไป  ประกอบด้วย

                                    -  สมรรถนะหลัก  ๕  สมรรถนะ

                                    -  สมรรถนะประจำสายงาน  ๓  สมรรถนะ

                                    -  ความรู้ที่จำเป็นอย่างน้อย  ๓  ด้าน

                                    -  ทักษะที่จำเป็นอย่างน้อย  ๓  ด้าน


ตำบลกระนวน อ.ซำสูง จ.ขอนแก่น 40170 โทร. 0-4321-9097-8 โทรสาร. 0-4321-9097
Admin Login